นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563

50 นิตยสาร สสวท.ิ ต บรรณานุกรม K. Adulyanukosol, S. Poovachiranon & P. Boukaew, (2010). Stomach contents of dugongs (Dugong dugon) from Trang Province, Thailand. Proceedings of the 5th International Symposium on SEASTAR2000 and Asian Bio-logging Science (The 9th SEASTAR2000 workshop) : 51-57. มุมห่างของดาวเค าะห์จากดวงอาทิิตย์์ุ่์ิ์ เป็นมุมที่่ัดตามแนวสุริยวิถี ซึ่่� งเป็นเส้นทางการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ผ่านกลุ่มดาวจักรราศี และโดยเหตุ ทีุ่่มเอียงของระนาบวงโคจรของดาวเคราะห์กับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมเล็กๆ (น้อยกว่า 7 องศา) ดาวเคราะห์จึงปรากฏอยู่ใกล้ สุริยวิถี เมื่อเห็นดาวเคราะห์อยู่บนฟ้า จึงเรียงเป็นเส้นโค้งเดียวกัน ดังภาพ 6 จากภาพ 6 ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคารและดาวเสาร์อยู่ทางทิศตะวันตกของดวงอาทิตย์ โดยอยู่่่างดวงอาทิตย์ เป็นมุม 67 องศา 67 องศา 60 องศา ตามลำ �ดับ ดาวพฤหัสบดีจึงขึ้นก่อนดาวเคราะห์ดวงอื่นที่อยู่ใกล้ๆ ดาวพฤหัสบดี คือ ดาวอังคาร และตำ � �ลงไปทางตะวันออกคือ ดาวเสาร์ ซึ่่� งสว่างกว่าดาวอังคาร (โชติมาตร -2 ) เพราะมีโชติมาตร -2 ในขณะที่ดาว พฤหัสบดี (โชติมาตร -2 ) สว่างกว่าดวงอื่นๆ ในเวลาใกล้รุ่ง ส่วนดาวศุกร์ (โชติมาตร -4.2 ) อยู่ทางตะวันออกของดวงอาทิตย์เป็นมุม 45 องศา จึงขึ้นเวลากลางวันตาม หลังดวงอาทิตย์ ปรากฏให้เห็นเป็นดาวประจำ �เมือง เป็นดาวที่สว่างสุกใสทางตะวันตกในเวลาหัวคำ� � โชติมาตร คือ การบอกความสว่างของเทห์ฟ้าเมื่อมองจากโลก เป็นความสว่างตามที่มองเห็นหรือตรวจวัดได้ ขึ้นกับการส่องสว่าง ค่ายิ่งน้อยแสดงว่ายิ่งสว่างมาก เช่น ดวงอาทิตย์ ค่าความสว่าง = -26.8 Magnitude [mag.] ดาว Sirius = -1.5 Magnitude [mag.] ดาวเคราะห์น้อย = +15 Magnitude [mag.] ขึ้น ภาพ 6 แสดง ตำ �แหน่งดวงอาทิตย์ ( ) ดาวอังคาร ( ) ดาวพฤหัสบดี ( ) ดาวเสาร์ ( ) ดาวศุกร์ ( ) ในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2463 เวลา 6 นาฬิิกา NCP N r เส้นขอบฟ้า เส้นศูนย์สูตรฟ้า สุริยวิถี N S W Z E

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1