นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563
51 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น นานาสาระ และ่ าวสาร ตลอดเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกถูก อุกกาบาต ฝุ่� นละออง ดาวหาง และดาวตก ฯลฯ ถล่มจน ทำ �ให้มวลของโลกเพิ่่มประมาณ 2 แสนตัน/ปี เม่� อโลก มีมวล 6x10 21 ตัน ดังนั� น มวลที่เพิ่่มจึงคิดเป็นเพีียง 3x10 -15 เปอร์เ็ นต์เท่านั� นเอง แม้การถล่มจะเกิดขึ� นเป็น เวลานับพัันล้านปี แต่เราก็มีหลักฐานค่อนข้างน้อยที่ แสดงว่าโลกถูกวัตถุอวกาศขนาดใหญ่พุ่่งชนบ่อย เ ราะ นำ� � ลม ายุ และการเคล่� อนตัวของเปลือกทวีป ทำ �ลาย ร่องรอยของการชนทั� งหลายไปจนเกือบหมด แต่ก็ อมี หลักฐานเหลืออยู่่้าง เมื่อนักดาราศาสตร์พิจารณารูปทรงและขนาดของ หลุมอุกกาบาตที่ปรากฏบนดวงจันทร์ ดาวพุธ และดาวอังคาร ทำ �ให้รู้้่าตลอดระยะเวลา 600 ล้านปีที่่่านมา โลกเคยถูก อุกกาบาตขนาดใหญ่พุ่งชนประมาณ 60 ครั้ง โดยในแต่ละครั้ง ความเสียหายที่เกิดขึ้นเทียบได้กับการระเบิดของดินระเบิด หนัก 1 ล้านตัน จึงมีผลทำ �ให้สิ่งมีชีวิตล้มตายไปมากมาย จนถึง ระดับที่เป็นการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่หลายครั้ง ในปี ค.ศ.1970 นักฟิสิกส์ Luis Alvarez (รางวัล โนเบลฟิสิกส์ปี ค.ศ. 1968) และนักธรณีวิทยา Walter Alvarez ซึ่่� งเป็นสองพ่อลูกแห่งมหาวิทยาลัย California ที่ Berkeley สำ �รวจสภาพทางธรณีวิทยาของภูเขาใกล้เมือง Gubbio ใน อิตาลี ทั้งสองได้สังเกตเห็นชั้นดินเหนียวส่วนหนึ่งของภูเขามี ความหนาประมาณ 1 เ นติเมตร ภายในมีแร่ Iridium มาก ซึ่่� งธาตุชนิดนี้ตามปกติจะไม่พบบนโลก การวัดอายุของธาตุ ปรากฏว่า มีอายุประมาณ 65 ล้านปี ซึ่่� งเป็นช่วงเวลาของ ปลายยุค Cretaceous ที่ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ และคนทั้งสอง ตระหนักว่าธาตุ Iridium พบมากในอุกกาบาต จึงตัดสินใจ เสนอความเห็นนี้ในวารสาร Science เมื่อปี ค.ศ. 1980 ว่า เมื่อ 65 ล้านปีก่อน โลกถูกดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่พุ่งชน และความรุนแรงของการพุ่งชนครั้งนั้นทำ �ให้สภาพดินฟ้า อากาศของโลกเปลี่ยนแปลงอย่างมโหฬาร จนไดโนเสาร์และ สัตว์อื่นอีกหลายชนิดสูญพันธุ์ เพื่อนร่วมงานคนหนึ่งของ Alvarez ที่่�ช อ Helen Michel ก็ได้พบกะโหลกของไดโนเสาร์ ชนิด Triceratops ฝังอยู่ในชั้นหินของภูเขาในรัฐ Montana ของอเมริกาด้วย ซึ่่� งไดโนเสาร์สปีชีส์นี้ได้ล้มตายและสูญพันธุ์ ไปเช่นกัน เพราะเมื่อดาวเคราะห์น้อยเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 5 กิโลเมตรพุ่งชนโลกด้วยความเร็วสูงประมาณ 25 กิโลเมตร/ วินาที พลังงานจลน์ของดาวเคราะห์น้อยทีู่่ญเสียไป จะทำ �ให้ พื้นดินแตกกระจายกลายเป็นสะเก็ดหิน ฝุ่นละออง เม และ ควันลอยขึ้นท้องฟ้าและปลิวกระจายไปรอบโลก จึงบดบัง แสงอาทิตย์ไม่ให้ส่องถึงโลกเป็นเวลานานหลายพันปี พืชและ สัตว์ที่เป็นอาหารของไดโนเสาร์ล้มตายไปมากมาย เมื่อ ไดโนเสาร์ขาดอาหารเป็นเวลานาน มันจึงล้มตายและสูญพันธุ์ ไปในทีุ่่ด ข้อเสนอสองพ่อลูกตระกูล Alvarez ทำ �ให้ทุกคน ในวงการชีววิทยาประหลาดใจและตื่นเต้นมาก เพราะทุกคน เคยเชื่อกันว่า การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์มีขั้นตอนดำ �เนินไป อย่างค่อยเป็นค่อยไป มิได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันที แต่นี่ เป็นเพียงข้อเสนอแนะ จึงยังไม่มีใครยอมรับเรื่องนี้จนกว่า จะมีหลักฐานยืนยัน ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/การสูญพันธุ์ครั้งใหญ ่ ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้าน • ราชบัณฑิิต วิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ และดาราศาสตร์ • e-mail: suthat@swu.ac.th การขุ หาซาก าวเ ราะห์น้อย ท่� ได้้ถล่มโลก นไ โนเสาร์สูญพัันธุ์์�
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1