นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563

52 นิตยสาร สสวท.ิ ต ดังนั้น การค้นหาหลักฐานที่่่าโลกเคยถูกถล่มด้วย อุกกาบาตขนาดใหญ่จึงเป็นเรื่องจำ �เป็นและสำ �คัญ เพื่อใช้ ยืนยันหรือล้มล้างทฤษฎีของ Alvarez แต่ความประสงค์นี้ ใช่ว่าจะเป็นจริงได้ง่าย เพราะเวลาที่โลกถูกอุกกาบาตชนได้ ผ่านไปนานมาก จนพื้นที่ประมาณ 20% ของผิวโลกเกิด การเปลี่ยนแปลงไปหมดแล้ว โดยสภาพดินฟ้าอากาศ และ การเคลื่อนตัวของเปลือกทวีปตลอดเวลา 65 ล้านปีที่่่านมา ในปี ค.ศ. 1991 Tony Camargo และ Glen Penfield สองนักธรณีวิทยาในสังกัดบริษัทนำ� �มัน PEMEX ของ Mexico ได้รายงานว่าเห็นร่องรอยการพุ่งชนเป็นหลุมที่่ีเส้นผ่าน ศูนย์กลางยาวประมาณ 180 กิโลเมตร ที่บริเวณใต้ทะเล ซึ่่� งอยู่ใกล้หมู่่้าน Chicxulub ในคาบสมุทร Yucatan ของ ประเทศ Mexico จึงได้ขุดหลุมลึกผ่านชั้นหินปูนถึงชั้น หินภูเขาไฟ ก็พบว่าบริเวณโดยรอบมีวงกลม แต่รายงาน ของคนทั้งสองที่เสนอต่อที่ประชุมของนักขุดเจาะนำ� �มัน ไม่ได้รับความสนใจ เพราะผู้้ังในที่่�น นไม่สนใจเรื่องไดโนเสาร์ และการเห็นเพียงร่องรอยยังไม่สามารถใช้เป็นหลักฐานที่่ี นำ� �หนักได้ เพราะสิ่งที่่ักวิทยาศาสตร์ทุกคนต้องการเห็นคือ ากดาวเคราะห์น้อยที่่�พ งชนโลก เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2560 ที่บริเวณคาบสมุทร Yucatan ในอ่าวเม็กิ โก คณะสำ �รวจภายใต้การนำ �ของ Sean Gulick แห่งมหาวิทยาลัย Texas ที่ Austin ได้ลงมือ ขุดเจาะท้องทะเล เพื่อค้นหา ากดาวเคราะห์น้อยที่่�พ งชนโลก เมื่อ 66 ล้านปีก่อน ที่่ำ �ให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไป การสำ �รวจ แสดงให้เห็นว่า การพุ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อยดวงนั้น ทำ �ให้เกิดวงแหวนที่่้องทะเลสองวง โดยวงในมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางยาวประมาณ 180 กิโลเมตร วงแหวนทั้งสองมี จุดศูนย์กลางร่วมกัน และที่ตรงบริเวณเส้นรอบวงมีลักษณะ เป็นขอบสูง โครงการขุดหาอุกกาบาตได้รับการสนับสนุนจาก International Ocean Discovery Project (IODP) และ International Continental Scientific Drilling Program มูลค่า 35 ล้านบาท โดยได้ส่งเรือขุดจากท่าเรือที่เมือง Progreso ไปที่่่าวเม็กิ โก ในตำ �แหน่งที่่่างจากฝั� งประมาณ 30 กิโลเมตร และพบว่าบริเวณนั้นมีนำ� �ลึกประมาณ 17 เมตร วิศวกรจึงลงเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 เสา เพื่อสร้างแท่น ขุดเจาะ หลุมอุกกาบาตที่ Chicxulub เป็นหลุมหนึ่งเดียวของ โลกที่่ังคงสภาพหลังการชนให้ชาวโลกได้เห็น ในขณะที่หลุม ที่เกิดจากดาวเคราะห์น้อยดวงอื่นๆ ได้เลือนหายไปจนเกือบ หมดแล้ว เช่น หลุม Vredefort อายุ 2,000 ล้านปีในแอฟริกาใต้ และหลุมที่Sudbury ในCanada ซึ่่� งมีอายุประมาณ1,800ล้านปี การขาดหลักฐานการชนทำ �ให้นักธรณีวิทยาเชื่อว่า ใครที่ ต้องการจะศึกษาหลุมลักษณะเดียวกับหลุม Chicxulub ต้อง เดินทางไปขุดหา ากอุกกาบาตบนดวงจันทร์ ดาวพุธ หรือ ดาวอังคาร คณะทำ �งานชุดนี้ได้วางแผนขุดท้องทะเลลึกลงไป ประมาณ 15,000 เมตร ผ่านชั้นดิน หินปูน และชั้นหินต่างๆ เพื่อนำ �ดินและหินตัวอย่างขึ้นมาวิเคราะห์สภาพหลังการพุ่งชน และสำ �รวจหาฟอสิ ลของจุลชีพทั้งที่่ีอยู่่่อน และหลัง การชนด้วย ทฤษฎีโครงสร้างของผิวโลกระบุว่า ที่ระดับลึกลงไป ใต้ท้องทะเล 500 เมตรเป็นชั้นของหินปูน และอีก 50 เมตร ต่อจากนั้นเป็นชั้นหินที่่ือกำ �เนิดในยุค Paleocene-Eocene ซึ่่� งเป็นเวลาประมาณ 55 ล้านปีก่อน อันเป็นช่วงเวลาที่โลก มีอุณหภูมิสูงกว่าปัจจุบันประมาณ 5 องศาเ ลเี ยส ดังนั้น ความอบอุ่นของบรรยากาศโลกจะทำ �ให้ทะเลในยุคนั้นมี สาหร่ายอุดมสมบูรณ์ เมื่อสาหร่ายตายได้กลายเป็น ากติด อยู่ในหินดินดาน (shale) และที่ระดับลึก 550-650 เมตร อาจจะพบหินที่่ี ากฟอสิ ลของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก สำ �หรับ ที่่ึกลงไปถึง 650-800 เมตร จะเห็นผลึก quartz ที่เกิดจาก หินถูกอัดอย่างรุนแรง ส่วนที่ระดับลึก 800-1,500 เมตรจะพบ หิน granite และหินภูเขาไฟ รวมถึงอาจพบ DNA ของจุลินทรีย์ ที่่ังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบันก็เป็นได้ แนวคิดที่จะขุดหา าตกรของไดโนเสาร์เกิดขึ้น เมื่อประมาณ 60 ปีก่อนนี้ เมื่อนักธรณีวิทยาของบริษัท นำ� �มัน PEMEX ของ Mexico ได้ลงไปสำ �รวจท้องทะเลแถบ คาบสมุทร Yucatan เพื่อวัดความเข้มของสนามเหล็ก และ ภา 1 หลุมอุกกาบาตที่ Chicxulub บริเวณคาบสมุทร Yucatan ในอ่าวเม็กิ โก ที่มา https://www.nytimes.com/2016/11/18/science/chicxu- lub-crater-dinosaur-extinction.html

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1