นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563

53 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น เท่ากับ 0.2 เท่าของระเบิดปรมาณูที่ถล่ม Hiroshima พลัง ในการทำ �ลายของอุกกาบาตขึ้นกับความเร็วที่่ันเคลื่อนที่ ยกกำ �ลังสอง ดังนั้น ในกรณีอุกกาบาตตกที่เมือง Chelyabinsk ในรัสเี ย เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013 ที่่ีเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพียง 20 เมตร แต่เมื่อระเบิด มันให้พลังงาน เทียบเท่าระเบิดปรมาณูที่ Hiroshima 33 ลูก ด้านดาวเคราะห์น้อยที่่ีขนาดใหญ่เท่าเรือ คือมี เส้นผ่านศูนย์กลางยาวประมาณ 30 เมตร NASA พบว่ามี ประมาณ 1.3 ล้านลูก และในทุก 200 ปี จะมีลูกหนึ่งทีู่่ก บรรยากาศโลกเสียดสี จนให้พลังระเบิดเท่ากับระเบิดปรมาณู 87 ลูก ในกรณีดาวเคราะห์น้อยที่่ีขนาด 150 เมตร ซึ่่� งมี จำ �นวนประมาณ 20,000 ลูก จะมีลูกหนึ่งที่เสียดสีบรรยากาศ ในทุก 13,000 ปี จนทำ �ให้เกิดการระเบิดเทียบเท่าระเบิด ปรมาณู 8,600 ลูก ด้านดาวเคราะห์น้อยที่่ีขนาด 1 กิโลเมตร ซึ่่� งมีจำ �นวน ประมาณ 1,000 ลูก จะมีลูกหนึ่งที่เสียดสีกับบรรยากาศในทุก 440,000 ปี และให้พลังระเบิดเทียบเท่าปรมาณู 3 ล้านลูก และกลุ่มสุดท้ายคือ ดาวเคราะห์น้อยที่่ีขนาด 10 กิโลเมตร ซึ่่� งมีประมาณ 4 ลูก จะพุ่งเฉียดบรรยากาศโลกจน ลุกไหม้ในทุก 89 ล้านปี และให้พลังระเบิดเทียบเท่าระเบิด ปรมาณู 3,000 ล้านลูก เมื่อดาวเคราะห์น้อยมีขนาดแตกต่างกันมากเช่นนี้ และโอกาสตกสู่โลกก็มีมากน้อยไม่เท่ากัน ดังนั้น หนทางรอด สำ �หรับคนที่อยู่ในเหตุการณ์คือ ถ้าลูกที่ตกมีขนาดเล็ก ให้วิ่ง เข้าไปหลบอยู่ในบ้าน แต่ถ้าเป็นลูกใหญ่คือขนาด 20 เมตร ก็พยายามไปให้ไกลประมาณ 100 กิโลเมตรจากตำ �แหน่งที่ มันจะตก บรรณานุกรม Borowsky, P.T. & Rickman, H. (2007). Comet/Asteroid Impacts and Human Society: An Interdisciplenary Approach . Springer-Verlag. ภา 2 อุกกาบาตตกที่เมือง Chelyabinsk ในรัสเี ย ที่มา https://blog.nationalgeographic.org/2013/07/01/russian-me- teor-shockwave-circled-globe-twice-3/ สนามโน้มถ่วงในบริเวณนั้น และได้สังเกตเห็นท้องทะเลมี ลักษณะเป็นวงแหวนขนาดใหญ่ ซึ่่� งเป็นวงแหวนของหินอัคนี และหินตะกอน แต่คณะสำ �รวจกลับคิดว่าสิ่งที่เห็นเป็นปาก ปล่องภูเขาไฟใต้ทะเลที่่ับแล้ว เมื่อทุกคนมั่นใจว่านี่่ือสถานที่ๆ เป็นศูนย์กลาง ของการชนที่่ำ �ให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ นักวิทยาศาสตร์จึง ตั้งเป้าเดินทางย้อนเวลาไปค้นหา ากดาวเคราะห์น้อยให้พบ ซึ่่� งจะใช้เป็นหลักฐานให้ผู้สนใจทุกคนตื่นเต้น ทั้งๆ ที่่� ร ู่าการขุดต้องใช้เงินงบประมาณมาก แต่ข้อดี คือพื้นที่่�ท ีุดอยู่ในทะเล จึงไม่กระทบกระเทือนต่อสภาพ นิเวศมาก จนอาจทำ �ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมออกมา คัดค้านและต่อต้าน ดังนั้น ในปี ค.ศ. 2005 คณะวิจัยจึง ใช้เทคนิคการสำ �รวจระยะไกล (Remote Sensing) ค้นหา ตำ �แหน่งที่่ีทีุ่่ดในการขุด และสร้างแบบจำ �ลองของหลุม ที่อาจเกิดขึ้นเมื่อโลกถูกดาวเคราะห์น้อยพุ่งชน จนพบว่า วงแหวนที่เกิดจากการชนมีความหนาแน่นน้อยกว่าหิน Granite และวงแหวนมีสภาพพรุนสูงพอที่จะให้จุลินทรีย์ ดึกดำ �บรรพ์สามารถเข้าไปอาศัยอยู่ได้ โดยจุลินทรีย์เหล่านี้ ไม่ได้รับพลังงานจากคาร์บอนและออกิ เจนเหมือนจุลินทรีย์ ทั่วไป แต่สามารถดำ �รงชีพอยู่ได้จากการบริโภคเหล็ก และ กำ �มะถันที่ไหลออกมาจากหินเหลวร้อนใต้ทะเล การขุดหา ากดาวเคราะห์น้อยในครั้งนี้ จะเป็น การพิสูจน์ให้เห็นว่าดาวเคราะห์น้อยสามารถเป็นได้ทั้งทูตมรณะ สำ �หรับไดโนเสาร์ และเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า หลังการชน มีสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กสามารถถือกำ �เนิดบนโลกได้ด้วย เพราะ ในหลุมจะมีจุลินทรีย์ชนิดใหม่ๆ เกิดขึ้น เมื่อทุกคนตระหนักว่าภัยอันตรายจากดาวเคราะห์ น้อยชนโลกมีมากเช่นนี้ ทุกวันนี้ NASA จึงใช้กล้องโทรทรรศน์ ทั้งบนโลกและในอวกาศ ติดตามดาวเคราะห์น้อยหลายแสนดวง ที่โคจรใกล้โลก และคาดการณ์ว่าดาวเคราะห์น้อยที่่ีขนาด เท่าลูกบาสเก็ตบอลซึ่่� งมีจำ �นวนประมาณ 1,000 ล้านลูกนั้น ในทุกวันจะมีลูกหนึ่งที่เสียดสีกับบรรยากาศจนลุกไหม้ ให้ พลังระเบิดประมาณ 0.00002 เท่าของลูกระเบิดที่ Hiroshima ส่วนดาวเคราะห์น้อยที่่ีขนาดใหญ่เท่ารถยนต์มี จำ �นวนประมาณ 100 ล้านลูก คาดการณ์ว่าในทุก 8 เดือน จะมีลูกหนึ่งที่เสียดสีกับบรรยากาศโลกทำ �ให้เกิดพลังระเบิด

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1