นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563
9 ปีที่ 48 ฉบับที่ 223 มีนาคม - เมษายน 2563ี ที่ ั บี่ ี น ความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการเช่� อมโยงความรู้และแนวคิด ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่� อวิเคราะห์สถานการณ์หรือปัญหา หาคำ �ตอบ แสดงเหตุผล หรือลงข้อสรุป อย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงมีการส่� อสารได้อย่างเหมาะสม สสวท. ได้จัดสอบวัดความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ประจำ �ปีการศึกษา 2562 ไปเม่� อเดือนตุลาคม 2562 ซึ่่� งผู้้่านหลายท่านคงจะได้ทราบข่าวการสอบนี� กันมาบ้าง บทความนี� จะนำ �ท่านไปทำ �ความรู้้ักกับการสอบนี� กัน การสอบวััดค ามฉลาดร้�ั้� ด้านวิิทยาศาสตร์และคณิิตศาสตร์ ้ิ์ิ์ (Scientific and Mathematical Literacy : SML) ตามแน ทางของ สส ท. การวััดค ามฉลาดร้� ด้านวิิทยาศาสตร์และคณิิตศาสตร์ กนกนันทน์ ไสไทย • นักวิชาการ สาขาวิจัยการศึกษาและพัฒนาการวัดและประเมินผล สสวท. • e-mail: ksait@ipst.ac.th รอบร้� วิทย์์ ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว นักเรียนที่อยู่ในระบบการศึกษาต้องสามารถนำ �ความรู้้� ท ได้จากชั้นเรียน และทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ มาใช้ในการดำ �เนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) ได้จัดทำ �รายงานเรื่อง “The Future of Education and Skills Education 2030” ซึ่่� งทาง OECD มีมุมมองว่า นักเรียนที่่ำ �ลังศึกษาอยู่ในปัจจุบัน จะกลายเป็นแรงงานใหม่ในตลาดแรงงานในอนาคต การที่่ักเรียนมีความรู้ มีทักษะที่่ำ �เป็น เห็นคุณค่าในตนเอง มีเจตคติและค่านิยม จะเป็นส่วนหนึ่งที่่ำ �ให้นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข และพร้อมรับมือกับโลกแห่งอนาคตในปี 2030 ดังนั้น จึงต้องมีการปรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และสมรรถนะที่่ำ �เป็นต่อ การเตรียมนักเรียน ให้มีความพร้อมสำ �หรับการดำ �เนินชีวิต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในฐานะเป็นหน่วยงานที่่ำ �หน้าที่่่งเสริมการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ตระหนักถึงความสำ �คัญของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนมี คุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น จึงได้พัฒนากรอบและข้อสอบวัดความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่เน้นให้นักเรียน นำ �ความรู้้้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่ได้เรียนรู้ไปใช้ดำ �เนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม โดย สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หากมีการปรับรูปแบบการสอบที่่�ม งเน้นวัดความฉลาดรู้มากขึ้น จะส่งผลให้มีการปรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ให้สอดคล้องกัน โดยนักเรียนจะได้ฝึกการนำ �ความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ และเพิ่มทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มากขึ้น ซึ่่� งจะทำ �ให้นักเรียนสามารถดำ �เนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตได้ การวัดความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ตามแนวทางของ สสวท. ดำ �เนินการวัดความสามารถหลัก ใน 3 ด้าน ได้แก่ 1. การเชื่อมโยงความรู้ (Integration) 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) และ 3. การสื่อสาร (Communication) ซึ่่� งมีรายละเอียดดังนี้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1