นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป สถานการณ์ โควิด-19 ประเทศไทยได้เริ่มปลดล็อคให้เราได้ทำ �กิจการต่างๆ ได้มากขึ้น อีกไม่นานโรงเรียนจะเปิดสอนในรูปแบบ New Normal หวังว่าเราทุกคนจะพร้อมกับระบบ การศึกษาในรูปแบบนี้้ันนะ เรามาสร้างแรงบันดาลใจกับนักฟิสิกส์นิวเคลียร์ นักเรียนทุน พสวท. รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย อ่อนจันทร์ เส้นทางชีวิตที่่ีครูเป็นต้นแบบ และเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างประโยชน์ และตอบแทนประเทศให้มากทีุ่่ด การเรียนรู้และใช้ชีวิตของผู้เรียนมีลักษณะแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไป การจัดการเรียนรู้ ควรสอดรับ เราขอนำ �เสนอแนวทางในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ประเด็นสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ ทั้งทางธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ต่อยอดไปสู่การแก้ปัญหาที่ประยุกต์ใช้ความรู้อย่าง สร้างสรรค์ สำ �หรับระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ในบทความ นักวิทย์ (น้อย)...พิชิตภัยพิบัติ สมาร์ตโฟนหรือโทรศัพท์มือถือมีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำ �วัน เราสามารถนำ � สมาร์ตโฟนไปใช้สำ �หรับการเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนเรียนรู้้้วยตนเอง ทั้งในและนอกห้องเรียนได้หลายลักษณะ เปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและวิธีการเรียนรู้ไปสูู่่ปแบบ ใหม่ และช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน มาติดตามดูแนวทางการประยุกต์ใช้กัน สะเต็มศึกษาเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ สสวท.เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่่้องผลักดัน การพัฒนาสะเต็มศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสำ �หรับนักเรียน 12 ชั้นปี ในรูปแบบต่างๆ หากเทียบสะเต็มศึกษาในประเทศไทยกับต่างประเทศเป็นอย่างไร เราได้สรุปเป้าหมายและ โครงการพัฒนาสะเต็มศึกษาของประเทศในแถบละตินอเมริกา ไต้หวัน เกาหลีใต้ และออสเตรเลีย ให้คุณได้ติดตามในบทความเดียว เราจะไม่ห่างกันเลย เพียงเข้า emagazine.ipst.ac.th นิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ วางแผงฟรีที่่�น ี่อนใคร และที่ fb.com/ipstmag ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท.ี 48 ฉั 224 พฤษภาคม - มิุ นายน 2563
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1