นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

11 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน กิจกรรมท่� 2 ย้้า ไปดา เ ราะห์์ด งใด 1. เริ่มต้นกิจกรรมนี้ด้วยค� ำถามต่อเนื่องจากกิจกรรมที่ผ่านมา โดยเน้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ องค์ประกอบสำ �คัญในการดำ �รงชีวิตอยู่บนโลก ควรได้ว่ามีองค์ประกอบสำ �คัญ 2 ส่วน คือ องค์ประกอบ ที่่ีชีวิต ( B iotic Component) และองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Component) เช่น แสง นำ� � อากาศ ที่่ีความสัมพันธ์กัน ทำ �ให้เกิดเป็นระบบนิเวศที่มนุษย์และสัตว์สามารถดำ �รงชีวิตอยู่ได้ 2. ให้นักเรียนร่วมกันตัดสินใจว่า นอกจากโลกแล้ว มีดาวเคราะห์ดวงใดที่มนุษย์จะสามารถด� ำรงชีวิตอยู่ได้ โดยให้เวลานักเรียนเพิ่มเติมสำ �หรับการหาคำ �ตอบ ในส่วนนี้้ักเรียนอาจจะตอบและอธิบายโดยใช้เหตุผล แบบเด็กๆ ก็ได้ แต่ผู้สอนควรใช้คำ �ถามกระตุ้นให้นักเรียนอธิบายเหตุผลเกี่ยวกับลักษณะและระบบนิเวศ ของดาวเคราะห์ดวงนั้น ในระหว่างการสืบค้นข้อมูล ผู้เขียนพบว่าการใช้เกมเข้ามาช่วยในการทำ �กิจกรรม สามารถกระตุ้นความสนใจและความมุ่งมั่นในการศึกษาข้อมูลได้ดีขึ้น โดยผู้เขียนให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษา ข้อมูลดาวเคราะห์ที่เตรียมให้ แล้วแข่งขันกันตอบคำ �ถาม 3. หลังจากที่นักเรียนตอบค� ำถามและให้เหตุผลในการเลือกดาวเคราะห์ที่มีความเหมาะสม ึ่งทุกกลุ่มเลือก “ดาวอังคาร” โดยให้เหตุผลว่า มีความใกล้เคียงกับโลกของเรามากทีุ่่ด จากนั้นผู้สอนเชื่อมโยงไปยัง กิจกรรมที่ 3 โดยให้สถานการณ์ว่า “หากเราเลือกที่จะไปดาวอังคาร ในฐานะผูุ้้กเบิกที่ไปถึงดาวอังคาร และต้องเริ่มทำ �การสำ �รวจพื้นที่ นักเรียนจะนำ �ยานอวกาศไปลงจอดได้หรือไม่” ภาพ 4 บรรยากาศในห้องทำ �กิจกรรม กิจกรรมท่� 3 ลงจอดบน ดาวอััง าร 1. เริ่มต้นกิจกรรม โดยให้นักเรียนชมวีดิทัศน์การลงจอดของยานอวกาศที่พื้นผิวของดวงจันทร์และดาวอังคาร เพื่อกระตุ้นความสนใจ รวมทั้งสอดแทรกข้อมูลเกี่ยวกับความเร็ว เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ลงโดยแรงโน้มถ่วง ของดาวเคราะห์ว่า มีความเร็วสูงมากและเกิดแรงกระแทก ทำ �ให้เกิดอันตรายต่อนักบินอวกาศได้ ดาวน์โหลดใบกิจกรรม bit.ly/224-r1 2. ให้นักเรียนศึกษาสถานการณ์ในใบกิจกรรม และให้สถานการณ์ที่ท้าทายว่า "เราอยากให้คุณออกแบบและสร้างระบบดูดั บแรงกระแทก ที่จะช่วยป้องกัน อันตรายที่จะเกิดกับนักบินอวกาศในขณะที่เครื่องลงจอด”ตามเกณฑ์์และข้อจำ �กัด ดังตัวอย่างต่อไปนี้ (ดาวน์โหลดรายละเอียดใบกิจกรรมใน QR Code ด้านขวา)

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1