นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
13 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน สรุป้ อคิิดจากกิจกรรม หลังจากการจัดกิจกรรม ผู้เขียนได้รวบรวมข้อคิดต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่อเพื่อนครูในการนำ �ไปประยุกต์ใช้ ดังต่อไปนี้ 1. นักเรียนควรได้สะท้อนความคิดจากสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือเคยมีประสบการณ์มาก่อน ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกิจกรรม เช่น ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ ระบบนิเวศ ซึ่่� งนักเรียนแต่ละคน อาจเข้าใจแตกต่างกัน 2. นักเรียนควรได้ฝึกการน� ำเสนอผลงานและวิพากย์ผลงานของเพื่อน ท� ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น ึ่งในปัจจุบันทักษะการสื่อสาร (Communication S kill) เป็นสิ่งจ� ำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น ผู้สอนควรออกแบบกิจกรรมให้นักเรียนได้มีโอกาสในการสื่อสาร การนำ �เสนองาน การให้และรับข้อเสนอแนะ แก่ผู้้�อ น เช่น ครูตั้งคำ �ถามให้นักเรียนคนหนึ่งตอบ และให้นักเรียนอีกคนหนึ่งแสดงความเห็นและเพิ่มเติมคำ �ตอบ 3. นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันระหว่างเพื่อนสมาชิกในกลุ่ม และได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงผลงาน ให้เกิดชิ้นงานที่ดีผ่านการทดลอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นตอนของการวางแผนการท� ำงาน หากผู้สอน เปิดโอกาสให้นักเรียนแบ่งงานกันรับผิดชอบและวางแผนงานด้วยนักเรียนเอง จะยิ่งเพิ่มโอกาสในการฝึก การทำ �งานร่วมกัน 4. ในขณะท� ำกิจกรรม ผู้สอนพยายามสอดแทรกวิธีคิดที่ว่า “ความล้มเหลวไม่ใช่เรื่องใหญ่” ึ่งเป็นการฝึกฝน ความมีมานะพยายามในการทำ �สิ่งใดสิ่งหนึ่งให้สำ �เร็จ และไม่ให้ความสำ �คัญกับ “การทำ �ได้หรือทำ �ไม่ได้” การทำ �แบบนี้อย่างต่อเนื่องจะฝึกให้นักเรียนพยายามหาจุดที่่ังบกพร่องและแก้ไข สิ่งนี้เองผู้เขียนปรับใช้ จากการพัฒนากรอบแนวคิดเติบโตหรือ Growth M indset ที่พยายามสร้างวัฒนธรรมในการคิดของนักเรียน ที่สอบไม่ผ่าน หรือทำ �อะไรไม่สำ �เร็จ โดยใช้คำ �ว่า “คุณยังทำ �ไม่ได้” แต่ถ้าคุณพยายามกับสิ่งๆ นั้นมาก เพียงพอคุณจะทำ �ได้ในทีุ่่ด จากงานวิจัยพบว่า นักเรียนที่่ีกรอบความคิดเติบโตจะมีผลสัมฤทธิ� ในการเรียน ดีขึ้น (Dweck, 2008) บรรณานุกรม Dweck, C. S. (2008). Mindset: The New Psychology of Success . New York: Ballantine Books. National Aeronautics and Space Administration (NASA). 2007. Touchdown. Retrieved October 15, 2019, from https://www.nasa.gov/audience/ foreducators/topnav/materials/listbytype/OTM_Touchdown.html. Next Generation Science Standards (NGSS). 2013. Next Generation Science Standards. Retrieved March 30, 2014, from http://www.nextgenscience.org . P21. 2014. Learning for the 21st Century: A Report and MILE Guide for 21st Century Skills. Partnership for 21st Century Skills. Retrieved October 15, 2019, from http://www.p21.org/storage/documents/P21_Report.pdf. Veen, W. & Vrakking, B. (2006). Homo Zappiens: Growing up in a Digital Age . London, Network. Continuum Education. ภััยพิิบััติิ หรืือ พิิบััติิภััย ในรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ของราชบัณฑิิตยสถาน ซึ่่� งออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ นั้น ได้อธิบายไว้ว่า คำ �ว่า ภัยพิบัติ (อ่านว่า ไพ-พิ-บัด) ประกอบด้วยคำ �ว่า ภัย หมายถึง สิ่งที่่ำ �ให้กลัว หรืออันตราย กับ คำ �ว่า พิบัติ หมายถึง ความฉิบหาย หรือหายนะ ภัยพิบัติ หมายถึง อันตรายที่่ำ �ไปสู่หายนะ หรือหายนะที่เป็นอันตราย มีทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติและเกิดจากการกระทำ �ของมนุษย์ เช่น นำ� �ท่วม แผ่นดินไหว พายุไ โคลน ภูเขาไฟระเบิด เป็นภัยธรรมชาติ ที่่ำ �ให้เกิดภัยพิบัติ เครื่องบินตก เรือล่ม รถไฟตกราง สงคราม เป็นภัยพิบัติที่เกิดจากการกระทำ �ของมนุษย์ คำ �ว่า ภัยพิบัติ อาจใช้ว่า พิบัติภัย (อ่านว่า พิ-บัด-ไพ) ก็ได้ เช่น ทุกประเทศควรมีระบบป้องกัน บรรเทา และฟ้� นฟูผลอันเนื่องมาจากพิบัติภัย ส่วนพิบัติภัยนั้น เป็นการแปลตามหลักภาษาบาลีสันสกฤต คือ แปลจากคำ �หลังไปหน้า คือ แปลจาก ภัย ไปหา พิบัติ ซึ่่� งแปลว่า พิบัติที่่ีมาจากภัย ความหายนะที่มาจากอันตราย ดังนั้น ในทรรศนะของผู้เขียนเห็นว่า ภัยพิบัติ หรือ พิบัติภัย นั้น มีความหมายทำ �นอง เดียวกัน ขึ้นอยู่่ับผู้ใช้ว่าต้องการใช้คำ �ไหนเท่านั้นเอง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1