นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
14 นิตยสาร สสวท.ิ ต แบบจำำ �ลองคืืออะไร ะจััดการเรียนร้� อย่างไร รอบร้� วิทย์์ รศ.ดร.พงศ์ประพันธ์ พงษ์โสภณ • ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • e-mail: feduppp@ku.ac.th กวินนาฏ พลอยกระจ่าง ชนิสรา ผลจันทร์ และพุฒธิดา รัมมะฉัตร • นักศึกษาโครงการ สควค. ระยะที่ 3 รุ่นที่ 6 ศูนย์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รูปแบบการสอนหลักที่ครูชีววิทยานิยมใช้ในการจั การเรียนรู้้ือ การสอนแบบบรรยาย ซึ่่� งอาจทำ �ให้ นักเรียนไม่สามารถเข้าใจเนื� อหาที่่�ซับ้ อนและเป็นนามธรรมได้้ ตัวอย่างเช่น เรื่องยีนและโครโมโ ม ซึ่่� งเป็นเนื� อหา ที่่่อนข้างเข้าใจยาก และเป็นสิ่งที่่ักเรียนมองไม่เห็นภาพ ดัังนั� นการทำ �ให้นักเรียนเรียนรู้เนื� อหาดัังกล่าวได้้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ� น จึงจำ �เป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เหมาะสมกับเนื� อหา ซึ่่� งการจั การเรียนรู้ โ ยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐาน (Model-Based Learning) เป็นรูปแบบการจั การเรียนรูู้้ปแบบหนึ่ง ที่จะช่วยให้นักเรียน ทำ �ความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ ได้้อย่างเป็นรูปธรรม และลึกซึ้้� งยิ่งขึ� น การเข้าใจถึงความสำ �คัญและแนวทาง การจั การเรียนรู้โ ยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐานมีความสำ �คัญอย่างยิ่งที่ครูวิชาชีววิทยาควรศึกษา และนำ �ไปประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมกับการจั การเรียนรู้ของตนเอง แบบจำ �ลองคือ การสร้างเพื่อใช้อธิบายทฤษฎีหรือกฎ หรือกล่าวอีกความหมายหนึ่ง แบบจำ �ลองคือ ตัวแทนของ วัตถุ แนวคิด กระบวนการ หรือระบบ ซึ่่� งเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์กับความจริง โดยเป็นเครื่องมือที่่่วยให้ เกิดความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และแนวคิดต่างๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น (Gilbert, and Boulter, 1998; ชาตรี ฝ่ายคำ �ตา และ พรทิพย์ สุภัทรชัยวงศ์, 2557) แบบจำ �ลองเป็นหัวใจสำ �คัญและมีส่วนช่วยในการทำ �งาน และพัฒนาองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยนักวิทยาศาสตร์ มักใช้แบบจำ �ลองเป็นตัวแทนของเป้าหมาย (Target) เพื่ออธิบายและทำ �นายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ยากต่อการทำ � ความเข้าใจ มาถ่ายทอดแนวคิดเหล่านี้ให้ผู้้่านเข้าใจง่ายขึ้น (Grosslight et al., 1991; Gilbert and Justi, 2016) การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐาน เป็นวิธีการที่่ำ �ให้นักเรียนได้สร้างแบบจำ �ลองทางความคิดขึ้นมา โดยผ่านกระบวนการสร้าง การใช้ การปรับปรุงแก้ไข และการขยายแบบจำ �ลอง ซึ่่� งปกติแล้วนั้นแบบจำ �ลองทางความคิด ของนักเรียนมักมีความแตกต่างจากแบบจำ �ลองทางวิทยาศาสตร์ ครูจึงต้องพัฒนาหรือจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทำ �กิจกรรม เพื่อปรับเปลี่ยนแบบจำ �ลองทางความคิดของตนเองให้สอดคล้องกับแบบจำ �ลอง ทางวิทยาศาสตร์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐานสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอน (ชาตรี ฝ่ายคำ �ตา และ พรทิพย์ สุภัทรชัยวงศ์, 2557) คือ การสอนชีีววิทยาในเน้� อหาที� ซัับซ้้อน โดยใช้้แบบจำำ �ลองเป็็นฐาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1