นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

16 นิตยสาร สสว .ิ ต เนื่องจากบทเรียนในวิชาชีววิทยาจำ �นวนหนึ่งมีความั บ้ อน เป็นนามธรรม เป็นกระบวนการ ยากต่อการเข้าใจ และเห็นภาพอย่างเป็นรูปธรรม การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐานจึงเป็นแนวทางที่่ีแนวทางหนึ่งในการสอน เมื่อพิจารณาจากหน่วยการเรียนรู้ในหนังสือเรียนวิชาชีววิทยาของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และความคิดเห็นของผู้้ัดทำ � พบว่ามีตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้้�ท เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ แบบจำ �ลองเป็นฐาน เช่น เ ลล์ สารชีวโมเลกุล การสังเคราะห์ด้วยแสง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ยีนและโครโมโ ม โครงสร้างและหน้าที่ของพืช โดยในบทความนี้ขอตัวอย่างการสอนวิชาชีววิทยาโดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐาน เรื่อง การติดเชื้อ HIV หน่วยการเรียนรู้ การรักษาดุลยภาพในร่างกายมนุษย์ เรื่อง ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้ครูวิชาชีววิทยาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งผลให้นักเรียนได้พัฒนาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ทีู่่กต้อง และเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากทีุ่่ด ทั้งในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ การนำ �ไปประยุกต์ใช้ ครููมีีบทบาทอย่างไร ครูต้องทำ �หน้าที่เป็นผู้กระตุ้นให้นักเรียนสร้างแบบจำ �ลองทางความคิด ของตนเองออกมา โดยการสร้างสถานการณ์หรือการใช้คำ �ถามที่กระตุ้นให้นักเรียน คิดและอธิบายเหตุผล รวมไปถึงการแสดงแบบจำ �ลองที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ นักเรียนพัฒนาแบบจำ �ลองทางความคิดของตนเองให้สอดคล้องกับแบบจำ �ลองทาง วิทยาศาสตร์ ซึ่่� งแนวทางในการจัดการเรียนรู้ของครูสามารถสรุปได้เป็นขั้นตอนดังนี้ (ชาตรี ฝ่ายคำ �ตา และ พรทิพย์ สุภัทรชัยวงศ์, 2557) 1. เริ่มต้นบทเรียนด้วยแนวคิดที่ง่ายและสร้างประเด็นปัญหาที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจ เพื่อเปิดโอกาส ให้นักเรียนได้คิดและสะท้อนความคิดของตนเองออกมา และให้นักเรียนสื่อสารความเข้าใจของตนเองออกมา ด้วยการวาดภาพหรือการพูด 2. ส� ำรวจแบบจ� ำลองทางความคิดเดิมของนักเรียน โดยใช้การสัมภาษณ์สั้นๆ ใช้ค� ำถามหรือสาธิตเหตุการณ์ที่ นักเรียนคุ้นเคย แล้วอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ดังกล่าว 3. 3. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนพัฒนาแบบจ� ำลองแนวคิด โดยการถามนักเรียนเพื่อหา ความสัมพันธ์ของแนวคิดหรือการวาดรูป เพื่อแสดงการเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปมัยและปรับแบบจำ �ลอง แนวคิดให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น 4. ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรแสดงความคิดเห็นและสาธิตการเรียนรู้ การแก้ปัญหาให้กับนักเรียน รวมถึงให้นักเรียนแสดงถึงปัญหาที่ตนเองค้นพบ 5. ให้นักเรียนแสดงบทบาทเป็นครู แสดงการสอนหรือถ่ายทอดให้เพื่อนร่วมชั้นได้เข้าใจ และมีการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ โดยครูจะเสริมด้วยการตั้งค� ำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียน เช่น ท� ำไมนักเรียนจึงคิดเช่นนั้น ให้นักเรียนอธิบายแบบจำ �ลองแนวคิด ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยให้นักเรียนอธิบายคำ �ตอบด้วยภาษาของตนเอง 6. กระตุ้นให้นักเรียนตั้งค� ำถามเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ด้วยตัวของเขาเอง สร้างสมมติฐาน ค้นหาค� ำตอบและน� ำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง ให้นักเรียนเชื่อมโยงบทเรียนกับชีวิตประจ� ำวัน 7. ใช้ค� ำถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนประเมินแบบจ� ำลอง เช่น ลักษณะส� ำคัญของแบบจ� ำลองนี้คืออะไร จงอธิบาย ว่าท� ำไมนักเรียนถึงใช้แบบจ� ำลองนี้ แบบจ� ำลองนี้มีประโยชน์ต่อการสอนให้ผู้อื่นที่ไม่เคยเรียนเรื่องนี้มาก่อน หรือไม่

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1