นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
23 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน รูปแบบการใช้้ตัวแทนความคิดทางคณิิตศาสตร์ การใช้ตัวแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และเชื่อมโยงระหว่างวิธีการแสดงที่แตกต่างกันนั้น แสดงว่านักเรียนมีความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ มีความสามารถในการเชื่อมโยงระหว่างการนำ �เสนอทางคณิตศาสตร์ (Lesh, 1979) ดังนี้ ภาพ 1 รูปแบบการใช้ตัวแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ ที่มา https://www.researchgate.net/figure/A-diagrammict-represenation- of-the-Lesh-1979-model-Source-Adapted-from-Lesh-Post-and_ fig1_265396642 • การใช้สื่ออุปกรณ์ (Manipulative) เป็นการสะท้อนความเข้าใจและความคิดทางคณิตศาสตร์โดยผ่านสื่อที่เป็น วัตถุเชิงกายภาพ เช่น กระดานตะปู ลูกบาศก์ แท่งสี • สัญลักษณ์ทางการเขียน (Written symbols) เป็นสื่อสะท้อนแนวคิดและความเข้าใจทางคณิตศาสตร์โดยผ่าน การเขียนสัญลักษณ์ เช่น การเขียนอธิบายวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียน การเขียนเกี่ยวกับแนวคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์ • สัญลักษณ์ทางการพูด (Verbal symbols) การสื่อความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ด้วยการฟัง พูดหรือการอ่าน เกี่ยวกับแนวคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เช่น การพูดเพื่ออธิบายวิธีการที่สมาชิกในกลุ่มใช้เพื่อหาค� ำตอบของ ปัญหานั้น • รูปภาพ (Picture) เป็นการน� ำรูปภาพมาช่วยสะท้อนแนวคิด ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ การแสดงแทนด้วย รูปภาพช่วยกระตุ้นให้นักเรียนอธิบายแนวคิดทางคณิตศาสตร์ได้มากขึ้น • บริบทในชีวิตจริง (Real-life S ituation) เป็นการแสดงตัวแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ที่ฝังตัวอยู่ในบริบทที่ คุ้นเคยซึ่่� งจะก่อให้เกิดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ไม่เป็นทางการของนักเรียน บริบทในี วิตจริง (Real-life Situations) การใช้้อุปกรณ์์ (Manipulatives) สัญลักษณ์์ทางการเขียน (Written Symbols) สัญลักษณ์์ทางการพูด (Verbal Symbols) รูปภาพ (Pictures) ใช้ได้หลายรูปแบบ เช่น วัตถุ แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ ตาราง แบบจำ �ลอง สัญลักษณ์ นิพจน์ และตัวแทน โดยการ นึกคิดต่างๆ เพื่อทำ �ให้นักเรียนมีความเข้าใจทางคณิตศาสตร์มากขึ้น สามารถใช้เชื่อมโยงความรู้้�พ นฐานทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำ �ความเข้าใจเหล่านั้นมาใช้ในการสื่อสารและแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ ได้ (อรญา อัญโย, 2553 และ พรรณทิภา ทองนวล, 2554)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1