นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
27 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน 3. รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความแตกต่างกัน เนื่องจากรูปเรขาคณิตสามมิติแสดงให้เห็นถึง ความหนาหรือความลึก ในขณะทีู่่ปเรขาคณิตสองมิติแสดงให้เห็นถึงความกว้างและความยาว การนำ �รูปเรขาคณิตสามมิติ มาคลี่ออก โดยที่่่วนต่างๆ ที่คลี่ออกนั้นไม่แยกหรือฉีกขาดออกจากกัน ทำ �ได้ดังนี้ ภาพ 6 การนึกหรือมองภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ ที่มา https://kochasingamonpan.files.wordpress.com/2013/01/e0b981e0b89ce- 0b899e0b980e0b8a3e0b882e0b8b2.jpg ภาพ 7 การนึกหรือมองภาพรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มา https://www.novellive.com/lesson-lesson/math/math-m1-foundation-term2- geometry-2d-and-3d มองด้้านข้างี กขวา มองด้้านหน้า มองด้้านบน ปัญหาที่่ำ �มาใช้พัฒนาความสามารถในการนึกภาพทางคณิตศาสตร์ ควรเป็นปัญหาที่่่ายต่อการเชื่อมโยง การนึกภาพทางคณิตศาสตร์ และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง ซึ่่� งการนึกภาพทางคณิตศาสตร์สามารถใช้ได้กับปัญหาที่่�ค นเคยและ ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย (Presmeg, 2001 and Zarzycki, 2004) ปานทอง กุลนาถศิริ. (2546). ได้เสนอกลยุทธ์ที่่่วยเสริมสร้าง มิติสัมพันธ์และการนึกภาพทางคณิตศาสตร์ร่วมกับกลยุทธ์การแก้ปัญหา ดังนี้ 1. ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะในการตั้งค� ำถาม และแต่งเรื่องราวหรือโจทย์ปัญหาจากข้อมูลที่ก� ำหนดให้ 2. ฝึกให้ผู้เรียนแต่งโจทย์หรือเรื่องราวให้สมบูรณ์ ครูผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ โจทย์หรือข้อมูลที่ก� ำหนดให้ว่า มีความสมบูรณ์หรือไม่ขาดตกบกพร่องอย่างไร มีความเป็นไปได้หรือไม่ 3. ฝึกให้ผู้เรียนมีความสามารถในการจัดการ และกระท� ำกับข้อมูลต่างๆ อย่างมีระบบระเบียบ 4. ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะคาดเดา ตรวจสอบและทบทวน เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของค� ำตอบ 5. ฝึกให้ผู้เรียนสามารถบ่งบอกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไป จากการสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น้ ำกันในลักษณะแบบรูปต่างๆ 6. ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักใช้ตรรกะในการคิดหรือคาดเดาค� ำตอบ เพื่อให้ค� ำตอบที่หาได้หรือคาดเดาไว้นั้นเป็นค� ำตอบ ที่ถูกต้อง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1