นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
3ี 48 ฉั 224 พฤษภาคม - มิุ นายน 2563ีัิุ น แรงบัันดาลใจจรรโลงชีีวิต และเส้้นทางของนักฟิิสิิกส์์นิวเคลียร์์ รองศาสตราจารย์์ ดร.ธวััชชั อ่อนจันทร์ ผู้้� อำำ �นวยการสถาบัันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่่งชาติิ ( งค์การม ชน) เด็็กผู้ชายคนหนึ่งจากอำ �เภอเล็กๆ ในจังหวั สงขลาที่่้นพบตัวเองว่าชอบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และ ในช่วงมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้้รับโอกาสเข้ามาเป็น นักเรียนทุนในโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้้ีความสามารถ พิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) รวมทั� งเป็น ผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันฟิิสิกส์โอลิมปิกระหว่าง ประเทศ ในปี พ.ศ. 2536 ทำ �ให้ตัดสิินใจเลือกเส้นทางชีวิต สู่สายฟิิสิกส์อย่างเต็มตัวตั� งแต่บัดนั้� นเป็นต้นมา ได้้รับทุน พสวท. จนเรียนจบระดัับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย ลีไฮย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา และกลับมาเป็นนักวิจัยที่ เชี่ยวชาญด้้านพลาสมาและฟิิวชันคนแรกของประเทศไทย สินีนาฏ จันทะภา • ผู้้ำ �นาญ ฝ่ายยุทธศาสตร์ แผน และประกันคุณภาพ สสวท. • e-mail: schan@ipst.ac.th จุุดป ะกายเส้้นทางที � ใช่่ในสิ่ � งที � อบ เริ่มต้นรู้แต่ว่าชอบเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพราะสนุกดี บังเอิญตอนนั้นสอบฟิสิกส์โอลิมปิกได้ และผ่านการคัดเลือกจนเป็นผู้แทนประเทศไทย ตรงนั้นน่าจะเป็นจุดที่ผมตัดสินใจแล้วว่าน่าจะโอเคกับฟิสิกส์ทีุ่่ด หลังจากนั้น ก็ได้ทุนไปเรียนด้านฟิสิกส์ที่่่างประเทศ ได้รู้้ักฟิสิกส์ในหลายสาขาที่่่าสนใจและท้าทาย แต่ไปได้ยินเรื่องของพลังงาน ฟิวชันเป็นพลังงานรูปแบบใหม่ที่ผมเคยเรียนมาในชั้นเรียนบ้างแล้ว ก็เลยคิดว่า เรื่องนี้้่าสนใจ น่าจะเป็นพลังงานของโลก และของประเทศไทยในอนาคต ได้รับโอกาสจากอาจารย์ที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้และมีตำ �แหน่งว่างพอดี จึงได้ลองไปทำ �งาน ทุกอย่างก็ลงตัว ถ้าจะเรียนจนจบปริญญาเอกทางด้านฟิวชันต้องมีพื้นฐานวิชาการที่แน่นและหลากหลาย ต้องขยันที่จะเรียนรู้ โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์เป็นสาขาที่่ีความหลากหลาย การเตรียมตัวต้องเตรียมทฤษฎีและเนื้อหามากพอสมควร สิ่งสำ �คัญทีุ่่ดของการเรียนปริญญาโท ปริญญาเอกด้านนี้้ือ ต้องเป็นคนที่่ักและชอบในสาขานี้มาก ต้องสนใจจริงๆ ต้องชอบที่จะเรียนรู้ เวลาแก้หรือพิสูจน์บททฤษฎีแล้วมีความสุข หรือว่าประดิษฐ์อะไรสักอย่างแล้วมีความสุข ถึงจะไปต่อได้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1