นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

34 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภาพ 2 การประยุกต์ใช้สมาร์ตโฟนสำ �หรับ การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ นอกจากใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้้ังกล่าวแล้ว สมาร์ตโฟนยังเป็นอุปกรณ์ที่สามารถนำ �ไปใช้ในการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ได้ จากเดิมที่ครูอาจใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือ E-learning จำ �ลองสถานการณ์หรือสาธิตการทดลอง โดยที่ นักเรียนต้องนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ในห้องคอมพิวเตอร์หรือห้องปฏิบัติการ ก็เปลี่ยนเป็นการทำ �ปฏิบัติการโดยใช้อุปกรณ์ แบบไร้สาย ได้แก่ สมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต ในลักษณะ “ B ring Your Own Device” (BYOD) ซึ่่� งช่วยลดข้อจำ �กัดในด้านสถานที่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และการติดต่อสื่อสาร อีกทั้งยังเพิ่มความสะดวกสบายและความเป็นอิสระในการเรียนรู้ให้กับนักเรียน จากบทความ รายงานการวิจัย และแอปพลิเคชันที่่ีจำ �นวนเพิ่มขึ้น แสดงให้เห็นว่าในปัจจุบันมีการนำ �สมาร์ตโฟนไปประยุกต์ ใช้สำ �หรับการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์อย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น • ใช้จ� ำลองการทดลอง เช่น ในแอปพลิเคชัน Chemist นักเรียนสามารถเลือกอุปกรณ์และทดลองผสมสารเคมี เพื่อทำ �ปฏิกิริยาเคมีเสมือนจริงบนสมาร์ตโฟน โดยไม่ต้องสัมผัสกับสารเคมีหรือเสี่ยงกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจาก การทำ �ภาชนะแตกหรือการระเบิด ในทางชีววิทยามีแอปพลิเคชัน Dissection Lab ให้นักเรียนได้ลงมือทดลอง ผ่าตัดสัตว์ทดลองเสมือนจริง เรียนรู้เกี่ยวกับอวัยวะและการทำ �งานของร่างกาย • ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้เสมือนจริง เช่น การน� ำเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality หรือ AR) มาใช้ ในการแสดงภาพ ภาพเคลื่อนไหว หรือวัตถุสามมิติที่อยู่ในโลกเสมือน ้อนอยู่บนภาพที่เห็นในโลกความจริง ช่วยให้การเรียนรู้น่าสนใจ แปลกใหม่ ท� ำให้เข้าใจและจดจ� ำเนื้อหาที่ั บ้ อนได้ง่าย และรวดเร็วมากกว่าการใช้ สื่อการสอนแบบเดิมๆ เนื่องจากผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมได้สะดวก เพียงมีกล้อง บนสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตซึ่่� งเชื่อมกับต่ออินเทอร์เน็ต และแอปพลิเคชันที่รองรับเทคโนโลยีดังกล่าว ในปัจจุบัน มีสื่อการเรียนรู้้�ท อยู่รอบตัวซึ่่� งใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเพิ่มมากขึ้น เมื่อใช้ร่วมกับสมาร์ตโฟนและ แอปพลิเคชันเฉพาะ จะแสดงภาพอวัยวะที่่ำ �แหน่งต่างๆ ของร่างกาย เพื่อใช้ในการเรียนรู้้ิชาชีววิทยาหรือ วิชาอื่นๆ ได้ • ใช้เป็นอุปกรณ์ส� ำหรับท� ำการทดลอง เนื่องจากในปัจจุบันสมาร์ตโฟน ได้รับการพัฒนาให้มีเ็ นเ อร์ต่างๆอยู่ภายในตัวเครื่อง ( B uilt-in S ensors) เพื่อให้สามารถทำ �งานได้หลากหลายและมีประสิทธิภาพ เช่น เ็ นเ อร์ วัดค่าความเร่ง (Accelerometer S ensor) มีไว้ตรวจจับลักษณะการ เคลื่อนไหวของสมาร์ตโฟน ทำ �ให้เครื่องปรับทิศทางการแสดงผลบน หน้าจอให้เหมาะสมกับมุมมองของผู้ใช้งาน เมื่อเอียงเครื่องไปใน ทิศทางต่างๆ เ็ นเ อร์จีพีเอส (GPS sensor) ใช้แสดงตำ �แหน่ง ที่่�ต งของเครื่องหรือกล้องถ่ายรูป ซึ่่� งจัดเป็น Image S ensor ด้วย ความสามารถของเ็ นเ อร์เหล่านี้ ทำ �ให้สามารถนำ �สมาร์ตโฟน ไปประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการวัดหรือทำ �การทดลองทาง วิทยาศาสตร์ได้ เช่น ใช้ทำ �การทดลองเรื่องการตกอย่างอิสระของ วัตถุ โดยอาศัยเ็ นเ อร์วัดค่าความเร่ง ใช้วัดระดับความดังของ เสียงในสิ่งแวดล้อม โดยใช้ไมโครโฟนของสมาร์ตโฟน สำ �หรับ การทดลองที่ใช้เ็ นเ อร์ของสมาร์ตโฟนเป็นเครื่องวัดสัญญาณ Science Journal เป็นแอปพลิเคชันหนึ่งซึ่่� งมีประโยชน์และน่าสนใจ เนื่องจากสามารถวัดสัญญาณและ บันทึกค่าที่่ัดได้จากเ็ นเ อร์ชนิดต่างๆ ได้หลายแบบ เช่น วัดความสว่างของแสงเป็นลัก์ หรือวัดความดัง ของเสียงเป็นเดิ เบล โดยสามารถใช้งานได้กับสมาร์ตโฟนทั้งบนระบบปฏิบัติการ iOS และ Android รวมถึง iPad และสามารถดาวน์โหลดได้ฟรี • ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ เช่น การน� ำสมาร์ตโฟนไปต่อเข้ากับกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ S martphone M icroscope Adapter เพื่อให้นักเรียนมองเห็นภาพภายใต้กล้องได้อย่างชัดเจน มีขนาดใหญ่ และสะดวกมากขึ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1