นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
35 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน จะเห็นได้ว่าสมาร์ตโฟนกับการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันมีการผสมผสานเข้ากันได้อย่างลงตัว โดยครูอาจใช้สมาร์ตโฟนเป็นช่องทางในการถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบที่เหมาะสมและน่าสนใจ ทำ �ให้การเรียนรู้เกิดขึ้น ได้ทันที เมื่อนักเรียนเชื่อมต่อข้อมูลด้วยอุปกรณ์ที่่ีเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไร้สาย นอกจากนี้ ครูอาจนำ �สมาร์ตโฟน ไปใช้เป็นเครื่องมือในการทดลองทางวิทยาศาสตร์โดยอาศัยความสามารถอื่นๆ ของสมาร์ตโฟน นอกเหนือจากการเป็นอุปกรณ์ สื่อสารได้อีกด้วย การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันยุคทันสมัย และสนุกสนานโดยใช้ สมาร์ตโฟนนี้ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่่่าสนใจสำ �หรับครูสอนวิทยาศาสตร์ ดังตัวอย่างแนวทางการจัดกิจกรรมปฏิบัติการเคมี เรื่องการวิเคราะห์หาความเข้มข้นของสารละลายโดยใช้สมาร์ตโฟน หลักการของการทดลอง สมาร์ตโฟนสามารถนำ �มาใช้ถ่ายภาพสารละลายที่่ีสี แล้ววิเคราะห์สีของสารละลายจากภาพโดยใช้แอปพลิเคชัน เป็นค่าความเข้มของสีแดง (R) สีเขียว (G) และสีนำ� �เงิน (B) ซึ่่� งเป็นแม่สีที่ผสมกันแล้วทำ �ให้เกิดเป็นสีต่างๆ บนหน้าจอของ อุปกรณ์ดิจิทัล เช่น สมาร์ตโฟน กล้องดิจิทัล ค่า R G B นี้เป็นตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 255 พิกเ ล (Pixel) ซึ่่� งหากทราบความสัมพันธ์ ทางคณิตศาสตร์ระหว่างค่า R, G หรือ B กับความเข้มข้นของสารที่่้องการวิเคราะห์ จะสามารถคำ �นวณหาปริมาณ หรือความเข้มข้นของสารตัวอย่างได้ หลักการนี้สามารถนำ �มาทำ �เป็นการทดลองทางเคมีในห้องเรียน เนื่องจากทำ �ได้ง่าย รวดเร็ว และไม่ต้องใช้เครื่องมือที่่�ซับ้ อนหรือมีราคาแพง ในกรณีสารละลายคอปเปอร์ (II) ั ลเฟต เมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้น สารละลายจะมีสีฟ้าเข้มขึ้น และความเข้มของสีแดงหรือค่า R ซึ่่� งวัดได้จากภาพจะลดลง ดังนั้นหากถ่ายภาพสารละลาย คอปเปอร์ (II) ั ลเฟตที่ทราบความเข้มข้นในระดับต่างๆ แล้ววัดค่า R และนำ �ไปสร้างกราฟเส้นตรงระหว่างค่า R กับความเข้มข้น ของสารละลาย ก็จะสามารถคำ �นวณหาความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่างคอปเปอร์ (II) ั ลเฟต ที่ไม่ทราบความเข้มข้น มาก่อนได้ กิจกรรมที่ 1 ค้้น ว้้าข้อมูล ก่อนทำ �การทดลอง ครูให้นักเรียนช่วยกันค้นคว้าและนำ �เสนอข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีคอปเปอร์ (II) ั ลเฟตที่ใช้ ในปฏิบัติการ เช่น สูตรเคมี ชื่อพ้อง นำ� �หนักโมเลกุล และความปลอดภัยหรือข้อควรระวัง โดยค้นหาข้อมูลจากเว็บไ์ หรือแอปพลิเคชัน เช่น EMS.GHS/SDS ซึ่่� งเป็นแอปพลิเคชันที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยของสารเคมี ดังภาพ 3 ภาพ 3 ภาพหน้าจอแสดงการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย ของคอปเปอร์ (II) ั ลเฟตบนแอปพลิเคชัน EMS.GHS/SDS ซึ่่� งทำ �โดยใส่ชื่อสารเคมีเป็นภาษาอังกฤษ (1) หลังการค้นหา แอปพลิเคชันจะแสดงข้อมูลสัญลักษณ์ความเป็นอันตราย ของสารเคมี (2) และข้อควรระวังหรือคำ �แนะนำ �ในการใช้ สารเคมีอย่างปลอดภัย (3) ปฏิิบััติการการวิเคราะห์์ าความเข้้มข้้น อง สารละลายตััวอย่่างคอปเปอร์ (II) ซััลเฟตโด ใช้้สมาร์ตโฟน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1