นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

38 นิตยสาร สสวท.ิ ต การเรีียนรู้� แบบร่่ มมือร่ มใจ : อลิเมอร์ จากประสบการณ์ในฐานะวิทยากรจัดอบรมครูวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาเคมี หลายครั้ง มักได้รับคำ �ถามว่า นอกเหนือจากการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น วิทยากรมีตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์รูปแบบอื่นหรือเทคนิคการสอนอื่นที่จะแนะนำ �ครูผู้สอนหรือไม่ หรือจัดการเรียนรู้้ิชาเคมีอย่างไรที่จะส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรู้้่วมกัน และที่่ำ �คัญต้องไม่น่าเบื่อ เมื่อพิจารณาในเอกสาร บทความ หรืองานวิจัยทางการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ จะพบว่ามีผู้เสนอ รูปแบบการจัดการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ (Instructional M odel) ไว้หลากหลายรูปแบบ เช่น วัฏจักรการเรียนรู้ของคาร์พลัส (Karplus Learning Cycle Model) วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5E Learning Cycle Model) การเรียนรู้แบบสืบเสาะ (Inquiry Learning) การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning) ซึ่่� งผู้สอนสามารถเลือกใช้จัดการเรียนรูู้้ปแบบใดก็ได้ แต่ต้องคำ �นึงถึงหัวใจของการจัดการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ ซึ่่� งก็คือ 5 ลักษณะสำ �คัญของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (5 F eatures of S cientific Inquiry) ดังนี้ 1. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในประเด็นค� ำถาม 2. ผู้เรียนให้ความส� ำคัญกับข้อมูลหลักฐาน ในการอธิบายและประเมินค� ำอธิบาย หรือค� ำตอบ 3. ผู้เรียนอธิบายแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ จากหลักฐานเชิงประจักษ์ 4. ผู้เรียนประเมินค� ำอธิบายของตนกับ คำ �อธิบายอื่นๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึง ความเข้าใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ 5. สื่อสารการค้นพบของตนให้ผู้อื่นเข้าใจ นยีรเงอ้หนใ์รตสาศายทิวงาทู้รมาวคาหะาสเบืสรากรกัจฏัว์ รตสาศายทิวู้รนยีรเรากะราสมุ่ลก์ รตสาศายทิวาชิว 12 ส่วนเทคนิคการสอนหรือกลวิธีการสอน (Teaching S trategy) เป็นเครื่องมือช่วยในกระบวนการจัดการเรียนรู้ การเลือกเทคนิคหรือกลวิธีการสอนขึ้นอยู่่ับผู้สอนว่าต้องการนำ �เทคนิคนั้นไปใช้เพื่อจุดประสงค์ใด เช่น อาจใช้เทคนิคสร้าง ผลสัมฤทธิ� ของทีม (Student Teams Achievement Division: STAD) เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ� ในการเรียนรู้้่วมกัน อาจใช้เทคนิคตั� วออก (Exit ticket) เพื่อตรวจสอบความเข้าใจผู้เรียน หรือผู้สอนอาจใช้เทคนิค Share & Post เพื่อระดมความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ คราวนี้มาที่่ำ �ถามว่า “จัดการเรียนรู้้ิชาเคมีอย่างไรที่จะส่งเสริมเกิดการเรียนรู้้่วมกันและที่่ำ �คัญต้องไม่น่าเบื่อ” วิชาเคมีเป็นวิชาที่่�ผ เรียนมีโอกาสได้ลงมือทำ �การทดลอง ได้ลงมือสืบเสาะ แต่ด้วยธรรมชาติของวิชาเคมีที่เป็นการศึกษา องค์ประกอบ สมบัติ และการเปลี่ยนแปลงของสาร ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจในระดับมหภาคก่อนที่จะเรียนรู้ในระดับ จุลภาคได้ ปัญหาจึงตกอยู่่ับคุณครูเคมี ในบทความนี้้�ผ เขียนขอเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจในเรื่อง พอลิเมอร์ เพื่อเป็นทางเลือกให้ครูเคมีนำ �ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งนีุ้้ณครูวิชาอื่นก็สามารถนำ �ไปปรับใช้ได้เช่นกัน มีส่วนร่วมในคำ �ถาม สื่อสารและ ให้เหตุผล เก็บข้อมูล หลักฐาน อธิบายสิ่งที่พบ เชื่อมโยง สิ่งที่พบกับ สิ่งที่่�ผ ู้้นพบ แ ผ น ผั ง ก า ร สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม ร้้ ดร.ปุณิกา พระพุทธคุณ • นักวิชาการ สาขาเคมีและชีววิทยา สสวท. • e-mail: pprap@ipst.ac.th การเรียนกระตุ้้� น ความคิด

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1