นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

39 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน การเรี นร้� แบบร่ มมือร่ มใจ ( C ooperative Learning) เป็นการจัดการเรียนรู้้�ท เน้นการเรียนรู้้่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างทักษะการสื่อสารและทักษะทางสังคม ผู้เรียนเป็นผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้เผยแพร่แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจอย่างมีประสิทธิผล ประกอบด้วย 6 ประการดังรูป *การจัดกลุ่ม กลุ่มที่จะเรียนรู้้้วยกันอย่างมีประสิทธิผลควรเป็นกลุ่มละ 4 คน ประกอบด้วยนักเรียนที่่ีผลสัมฤทธิ� ในการเรียน สูง ปานกลาง ค่อนข้างตำ� � และตำ� � และหญิงชายจำ �นวนเท่า ๆ กัน โดยหน้าที่ของนักเรียนแต่ละคนในกลุ่ม มีดังนี้ 1) ผู้ประสานงาน มีหน้าที่ควบคุมดูแลให้สมาชิกทุกคนร่วมมือกันทำ �งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และสอบถามครูเมื่อมีปัญหา ลักษณะ ของผู้เรียนที่เหมาะกับหน้าที่่�น ีือ วาจาดี มีความประนีประนอม 2) ผู้้ัดการด้านความรู้ มีหน้าที่วางแผน สำ �รวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล และสรุปองค์ความรู้ ลักษณะของผู้เรียนที่เหมาะกับหน้าที่ นี้้ือ สมองดี มีความเข้าใจ 3) ผู้้ับผิดชอบด้านวัสดุอุปกรณ์ มีหน้าที่่ับและส่งอุปกรณ์ รวมทั้งดูแลความเรียบร้อย ลักษณะของผู้เรียนที่เหมาะกับหน้าที่่�น ีือ รับผิดชอบดี มีระเบียบวินัย 4) ผู้รายงาน มีหน้าที่ประสานงานกับผู้้ัดการด้านความรู้เพื่อออกแบบการนำ �เสนอและรายงานผลการเรียนรู้ ลักษณะของผู้เรียน ที่เหมาะกับหน้าที่่�น ีือ สื่อสารดี มีความคิดสร้างสรรค์ หลักการพื้้� นฐาน กาั ดกลุ� ม* ทักษะทางสัังคม กาั ดกา อุดมกา ณ์์ โค ง้ าง ของกิ ก ม เป็นสิ่งที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มต้องยอมรับ เช่น ต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน ต้องให้ ความร่วมมือ ทุกคนมีส่วนที่่ำ �ให้ กลุ่มสำ �เร็จ ความมุ่งมั่น กระตือรือร้น ร่วมมือร่วมใจ เพื่อให้งานกลุ่มสำ �เร็จ • ผู้ประสานงาน • ผู้้ัดการด้านความรู้ • ผู้้ับผิดชอบด้านวัสดุอุปกรณ์ • ผู้รายงาน เป็นการบริหารจัดการของนักเรียนภายในกลุ่มและครูเพื่อให้กลุ่ม ทำ �งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูต้องมีการจัดการที่่ี ควบคุมเวลา อำ �นวยความสะดวก และสังเกตพฤติกรรมการทำ �งานกลุ่ม เป็นทักษะในการทำ �งาน ร่วมกัน ให้ความช่วยเหลือกัน ให้กำ �ลังใจกัน และยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้้�อ น โครงสร้างของกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นกิจกรรมที่ใช้กลวิธีการสอนหลากหลายที่่่วยส่งเสริม ให้เกิดการร่วมคิดร่วมปฏิบัติเพื่อการเรียนรู้้่วมกันอย่างกระตือรือร้น ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้้ันในกลุ่มของตนเอง หรือเพื่อนต่างกลุ่ม จึงทำ �ให้ผู้เรียนพัฒนาทั้งทักษะกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร และทักษะทางสังคม

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1