นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
4 นิตยสาร สสวท.ิ ต บทบาทเปลี � ยน ยืนหยัดเป้าหมายเดิม ห้วงเวลามัธยมศึกษาตอนปลาย ได้พบกับ ศาสตราจารย์ ดร. สุทัศน์ ยกส้าน หัวหน้าทีมฟิสิกส์โอลิมปิก ในขณะนั้น จึงเกิดความประทับใจ และยึดถือเป็นแบบอย่างในการทำ �งานและใช้ชีวิตมาจนถึงทุกวันนี้ ผมรู้้ักอาจารย์สุทัศน์เมื่อเรียน ม.6 ตอนนั้นไปเข้าค่ายฟิสิกส์โอลิมปิก โดยมีอาจารย์เป็นหัวหน้าทีม ประทับใจ ในความสามารถของอาจารย์ เป็นคนเก่ง น่ารัก ใจดี ถามอะไรก็ตอบได้หมด แอบถามตัวเองว่าประเทศไทยมีคนเก่งมาก อย่างนี้้้วยเหรอ ไม่เคยเจออย่างนี้มาก่อน อาจารย์เป็นต้นแบบของการใช้ชีวิตทุกอย่าง ตอนกลางวันก็สอนและทำ �งาน บริหารด้วย เสียสละเวลามาให้คำ �แนะนำ � มาดูแลพวกผมตอนที่อยู่่่าย พาพวกผมไปทานอาหาร เล่าเรื่องต่างๆ ให้ฟัง อาจารย์ใช้เวลาที่่ีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์ต่อประเทศมากทีุ่่ดเท่าที่จะทำ �ได้ เพราะอาจารย์ก็เป็นนักเรียนทุน เหมือนกัน มีความรู้้ึกเดียวกันว่าตนเองเป็นหนีุ้้ญคุณกับประเทศก็ต้องตอบแทนให้มากทีุ่่ดเท่าที่จะทำ �ได้ หลังจาก ที่เรียนจบจากต่างประเทศ พอกลับมาทำ �งานก็พยายามนำ �แนวทางของอาจารย์สุทัศน์มาใช้ สิ่งใดที่่ำ �ได้ผมก็ทำ � เพื่อที่จะเป็นประโยชน์และตอบแทนประเทศให้มากทีุ่่ดเท่าที่จะทำ �ได้ ภายใต้เป้าหมายที่่�ม งมั่นจะทำ �งานตอบแทนประเทศ ในช่วงชีวิตได้ผ่านการทำ �งานในหลายรูปแบบแตกต่าง กันไป ตั้งแต่นักวิจัยจนได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ดาวรุ่ง อาจารย์มหาวิทยาลัย และผู้บริหารในองค์กรด้าน วิทยาศาสตร์ของรัฐ ในการทำ �งานที่่่านมาชอบการเป็นนักวิจัยมากทีุ่่ด เพราะได้ใช้ความรู้ความสามารถที่เรามีในการแก้ไข เรื่องที่่้าทาย สิ่งทีู่่มิใจทีุ่่ดก็คือโมเดลทางฟิสิกส์ที่เราได้พัฒนา ได้รับการยอมรับ ผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์ และมี การอ้างอิงหรือนำ �ไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ ภูมิใจในรางวัลที่ได้รับ ตอนเป็นนักวิจัยได้รับโอกาสจากผู้ใหญ่หลายท่าน พาไปประชุม สัมมนา ฝึกอบรม เปิดโลกทรรศน์ให้ได้พัฒนางานให้กว้างขึ้น และสามารถนำ �ไปใช้ประโยชน์ได้ พอมา เป็นผู้บริหาร คิดว่าสิ่งทีู่่มิใจคือให้นักวิจัยใหม่ๆ ได้มีช่องทางหรือมีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถของเขา อย่างเช่น โครงการปัจจุบัน คือ การพัฒนาเครื่องโทคาแมค (Tokamak) ของประเทศไทยสำ �หรับการศึกษาพลาสมา และเทคโนโลยี ฟิวชัน ก็เป็นพื้นที่ให้นักวิจัยรุ่นใหม่หลายท่านได้มาแสดงความรู้ความสามารถ ประยุกต์สร้างเครื่องมือใหม่ๆ ให้แก่ ประเทศได้ใช้จริง ก็ถือว่าเปลี่ยนบทบาทจากคนทำ �วิจัยไปสู่การส่งเสริมนักวิจัยท่านอื่นๆ แทน มีครููเป็นแ งดลใ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1