นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

40 นิตยสาร สสวท.ิ ต กระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจเรื่องพอลิเมอร์ เริ่มจากการวิเคราะห์ตัวชี้้ัดที่เหมาะสม ที่จะนำ �การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจไปปรับใช้ ในที่่�น ี้้เขียนเลือกตัวชี้้ัดของมาตรฐาน ว 2.1 ม.5/15 ม.5/18 และ ม.5/19 ในหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560) รายละเอียดดังนี้ ว 2.1 ม.5/15 สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ของ พอลิเมอร์ชนิดนั้น ว 2.1 ม.5/18 วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและ เทอร์มอเ ตของพอลิเมอร์ และการนำ �พอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ ว 2.1 ม.5/19 สืบค้นข้อมูลและนำ �เสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์์พอลิเมอร์ที่่ีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม พร้อมแนวทางป้องกันหรือแก้ไข เนื่องจากตัวชี้้ัดทั้งสามมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับพอลิเมอร์ และทักษะกระบวนการส่วนใหญ่เน้นไปที่การสืบค้นข้อมูล เมื่อผู้เขียนวิเคราะห์เนื้อหาและกิจกรรมในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์กายภาพ เล่ม 1 พบว่า ในหนังสือเรียนนำ �เสนอเนื้อหา เกี่ยวกับพอลิเมอร์ไว้ใน 2 หัวข้อ คือ คาร์โบไฮเดรตและบรรจุภัณฑ์์สำ �หรับอาหาร โดยในหัวข้อคาร์โบไฮเดรตจะบอกความหมาย ของพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ มีกิจกรรมให้ทดลองเปรียบเทียบการละลายและการติดกระดาษของสารละลายกลูโคสกับนำ � � แป้งมันสำ �ปะหลัง และมีกิจกรรมให้สืบค้นข้อมูลเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร์ ส่วนในหัวข้อบรรจุภัณฑ์์สำ �หรับ อาหาร ให้ตัวอย่างผลิตภัณฑ์์พอลิเมอร์สังเคราะห์ที่พบในชีวิตประจำ �วัน ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ พอลิเมอร์เมื่อได้รับความร้อน และมีกิจกรรมให้สำ �รวจปัญหาและนำ �เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกโดยใช้หลัก 3R จากการวิเคราะห์ตัวชี้้ัดร่วมกับเนื้อหาในหนังสือเรียน พบว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจสามารถ นำ �มาใช้ในการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ เรื่องพอลิเมอร์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ร่วมกันและบรรลุวัตถุประสงค์ของตัวชี้้ัดได้ ตัวอย่างกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจโดยใช้เทคนิค การสอนแบบ STAD ดังนี้ 1. ครูชี้แจงบทบาทหน้าที่ของผู้ประสานงาน ผู้จัดการด้านความรู้ ผู้รับผิดชอบด้านวัสดุ ผู้รายงาน และสร้าง ข้อตกลงร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับเกณฑ์์การผ่านกิจกรรมว่า ทุกคนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิก ในกลุ่ม ดังนั้นทุกคนในกลุ่มต้องช่วยเหลือกันเพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยให้ตกลง กันว่าใครจะท� ำหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน ผู้จัดการด้านความรู้ ผู้รับผิดชอบ ด้านวัสดุอุปกรณ์ หรือผู้รายงาน 3. ให้นักเรียนอ่าน/หาความหมายของพอลิเมอร์และมอนอเมอร์เอง ึ่งมีอยู่แล้ว ในหนังสือเรียน แล้วครูเพิ่มเติมข้อมูล 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มท� ำกิจกรรมทดลองเปรียบเทียบสมบัติบางประการของ กลูโคสและแป้งมันส� ำปะหลัง และสืบค้นข้อมูลสมบัติทางกายภาพของ มอนอเมอร์และพอลิเมอร์ (ในขั้นนี้ครูอาจให้นักเรียนในกลุ่มแบ่งหน้าที่่ัน เช่น 3 คนทำ �การทดลอง 2 คนทำ �การสืบค้นข้อมูล เพื่อประหยัดเวลาในการทำ �กิจกรรม) ระหว่างทำ �กิจกรรม ผู้ประสานงานต้องคอยควบคุมเวลา เมื่อเสร็จสิ้นการทำ �กิจกรรม แต่ละกลุ่มควรสรุปข้อค้นพบ หรือประเด็น ความรู้้�ท ได้รับจากกิจกรรมให้สมาชิกในกลุ่มฟัง

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1