นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
41 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน 5. นักเรียน/ครูร่วมกันสรุปผลการท� ำกิจกรรม ึ่งควรสรุปได้ว่า สมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร์แตกต่างจาก มอนอเมอร์ที่เป็นสารตั้งต้น 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกตัวแทนกลุ่ม 3 คน โดยนักเรียนแต่ละคนท� ำหน้าที่เป็นผู้จัดการด้านความรู้ ไปศึกษา หัวข้อต่างๆ ที่ครูเตรียมไว้ ได้แก่ ตัวอย่างพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่พบในชีวิตประจ� ำวัน การเปลี่ยนแปลงของ พอลิเมอร์เมื่อได้รับความร้อน แนวทางการแก้ปัญหาการลดปริมาณผลิตภัณ์ พอลิเมอร์ จากนั้นกลับมา นำ �เสนอหรือถ่ายทอดความรู้ให้สมาชิกในกลุ่มฟังจนเข้าใจ 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มท� ำกิจกรรมสืบค้นข้อมูลหรือส� ำรวจผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ผลิตภัณ์ พอลิเมอร์ พร้อม น� ำเสนอแนวทางการแก้ไข โดยครูอาจตั้งประเด็นให้สืบค้นข้อมูล ดังนี้ 7.1 ผลิตภัณฑ์์พอลิเมอร์ที่สร้างปัญหาให้กับชุมชนมีอะไรบ้าง ผลิตภัณฑ์์นั้นทำ �จากพอลิเมอร์ชนิดใด และมีมอนอเมอร์เป็นสารใด 7.2 ผลิตภัณฑ์์นี้เป็นพอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติกหรือพลาสติกเทอร์มอเ ต 7.3 แนวทางใดใน 3R ที่่่วยป้องกันหรือแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ผลิตภัณฑ์์ชนิดนี้ 8. นักเรียนและครู สรุปผลการท� ำกิจกรรมว่า การใช้ผลิตภัณ์ พอลิเมอร์ในปริมาณมากอาจส่งผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจึงควรตระหนักถึงการลดการใช้ การใช้ซ้ำำ� � หรือการนำ �กลับมาใช้ใหม่ เพื่อลด ปัญหาทั้งในชุมชนหรือสังคม 9. ครูประเมินนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยแบบทดสอบ และแบบสังเกตการท� ำกิจกรรม 10. ครูแจ้งผลการประเมินของนักเรียนแต่ละคน (จะเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม) และอาจให้รางวัลพิเศษส� ำหรับ กลุ่มที่ท� ำคะแนนได้สูงสุด ข้อดีของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจคือ ส่งเสริม ให้การเรียนรู้้ีประสิทธิผลมากขึ้น เนื่องจากในขณะที่่�ผ เรียนทำ � กิจกรรมกลุ่ม ผู้เรียนจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้้ับสมาชิกในกลุ่มซึ่่� งเป็น คนที่่ีวัยใกล้เคียงกัน ใช้ภาษาเดียวกัน ทำ �ให้สามารถสื่อสารกันได้ดี ผนวกกับการใช้เทคนิคการสอนแบบ STAD ยิ่งทำ �ให้ผลสัมฤทธิ� ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนในกลุ่มจะ ตระหนักว่า ตนสามารถเป็นเฟืองที่่ีที่่่วยขับเคลื่อนให้กลุ่มได้คะแนนดี มีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาหาความรู้ในหัวข้อที่ตนได้รับและถ่ายทอดให้ สมาชิกในกลุ่มเข้าใจ การลงมือลงแรงที่จะร่วมกันทำ �การทดลอง ทำ �การ สืบค้นข้อมูล นำ �เสนอผลงาน หรือแม้แต่ทำ �ข้อสอบรายบุคคลให้ได้ คะแนนดีนั้น ก็เพื่อที่จะนำ �พาให้กลุ่มประสบความสำ �เร็จไปด้วยกัน บรรณานุกรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). ครููวิทยา า ตร์มืออาชีีพ แนวทางสู่่การเรียนการ อนที� มี ระสิิทธิิผล . กรุงเทพมหานคร: อินเตอร์เอ็ดดูเคชั่น ัพพลายส์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนัังสืือเรียนรายวิิชาพื� นฐานวิทยา า ตร์ วิทยา าตร์กาย าพ เล่ม 1 . กรุงเทพมหานคร: สำ �นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). คู่่�ม อการใช้้หลัักสููตรรายวิิชาพื� นฐานวิทยา า ตร์ ระดับมัั ยมศึึกษาตอน ลาย. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2563, จาก https://www.scimath.org/ebook-science/item/8415-2-2560-2551. สำ �นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). ตัวชี้� วัดและ าระการเรียนรู� แกนกลาง กลุ่ม าระการเรียนรู� วิทยา า ตร์ (ััุ ง พ. . 2560) ตามหลัักสููตรแกนกลาง พุท ศัักรา 2551 . สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2563, จาก https://drive.google.com/file/d/1_ALwE9xuCL3Fjet3XI- 4gYjBj8p_1zLaA/view.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1