นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

42 นิตยสาร สสวท.ิ ต การจัดการเรีียนรู้� โด ใช้้ปัญ าเป็ ฐา ผ่่า การออกแบบ เชิิงวิิศ กรรม เรื� อง วิิกฤตน้ำ �ท่ มจังั ดอุ ลรา ธานีี : การสร้าง อ กปลาท่� ช่่ ผ่่อ แรง “อยากให้้นัักเรีีย สามา ถนำำ �ความรู้� ที่่� ได้้เรีีย ใ ห้้องเรีีย ไปใช้้ให้้เกิ ป ะโย์ ใี วิตป ะจำำ �วั ” ถ้าท่านเป็นครูที่่ีความมุ่งมั่นและตั้งใจสอนตามข้อความดังกล่าว ก็ลองอ่านและทำ �ความเข้าใจกับกิจกรรมที่่ำ �เสนอ ในบทความนี้ เพราะผู้เขียนเชื่อว่าน่าจะสร้างแรงบันดาลใจให้กับท่านได้ หลายคนคงจำ �กันได้ว่าในเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 ได้เกิดเหตุการณ์นำ� �ท่วมครั้งใหญ่ที่่ังหวัดอุบลราชธานี และ ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่่ังกล่าว รวมทั้งเป็นเหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของประชาชน ในภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศด้วย ต่อมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2562 ผู้เขียนได้คิดออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง วิกฤติ นำ� �ท่วมจังหวัดอุบลราชธานี เนื่องจากต้องการให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียนว่า สามารถนำ �ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในชีวิตจริงได้ ซึ่่� งสิ่งนี้จะช่วยให้การเรียนรู้้ีความหมายมากกว่าการท่องจำ �เพื่อนำ �ไปใช้ในการทำ �ข้อสอบ โดยกิจกรรม การเรียนรู้เรื่องนี้ออกแบบภายใต้กรอบแนวคิด การจั การเรียนรู้การออกแบบเชิงวิศวกรรมโ ยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Engineering D esign P roblem-based Learning) ซึ่่� งปรับมาจาก Engineering design problem-based lesson ที่่ำ �เสนอ โดย Grubbs & Strimel (2015, p.83-84) ซึ่่� งมีหลักการสำ �คัญคือ การนำ �สถานการณ์ปัญหาในชีวิตจริง หรือสถานการณ์ สมมติที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมาใช้เป็นบริบทของการจัดการเรียนรู้ เพื่อฝึกให้นักเรียนได้คิดแก้ปัญหา ผ่านกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยสรุปขั้นตอนและหลักการสอนที่ปรับแล้ว ดังตาราง 1 ขั้นตอนการจั การเรียนรู้ บทบาทครู บทบาทนักเรียน (1) ขั� นกระตุ้นความสนใจ (Engage) เป้าหมายสำ �คัญ คือนักเรียนระบุประเด็น ปัญหาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ครูใช้ใน การกระตุ้นความสนใจ ครูนำ �สถานการณ์ปัญหาในชีวิตจริง หรือสร้าง สถานการณ์สมมติที่ใกล้เคียงกับความจริงมา เป็นบริบทของการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นความ สนใจของนักเรียน ให้นักเรียนเรียนรู้อย่างมี ความหมาย และฝึกให้นักเรียนระบุปัญหาของ สถานการณ์ที่่ำ �หนดให้ นักเรียนจับประเด็นที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ และสรุปออกมาเป็นปัญหาที่่้องหาทางแก้ไข (2) ขั� นสำ �รวจและค้นหา (Explore) เป้าหมายสำ �คัญ คือ นักเรียนฝึกวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา และค้นหาความรู้้�ท เป็น ประโยชน์ต่อการทำ �ความเข้าใจสถานการณ์ ปัญหา และแก้ไขปัญหา ครูให้นักเรียนวิเคราะห์หาสาเหตุทั้งหมดที่่่า จะเป็นไปได้ที่่ำ �ให้เกิดปัญหา และหา ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุกับปัญหา และ สาเหตุกับสาเหตุ รวมทั้งให้นักเรียนค้นหา ความรู้้�ท ีีประโยชน์ต่อการทำ �ความเข้าใจ สถานการณ์ปัญหาและแก้ไขปัญหา นักเรียนวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา พร้อม กับแสดงความเชื่อมโยงระหว่างปัญหากับ สาเหตุ สาเหตุกับสาเหตุ และค้นหาความรู้ ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำ �ความเข้าใจ สถานการณ์ปัญหาและแก้ไขปัญหา (3) ขั� นอธิบายความรู้ (Explain) เป้าหมายส� ำคัญ คือ นักเรียนสามารถสรุป ความรู้ที่จ� ำเป็นต่อการแก้ปัญหาได้ ครูให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการ ค้นหา ส� ำรวจตรวจสอบ ทดลอง หรือทดสอบ ทางวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการท� ำความ เข้าใจสถานการณ์ปัญหาและแก้ไขปัญหา และช่วยจัดการกับความรู้ที่คลาดเคลื่อนของ นักเรียน นักเรียนสรุปความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำ �ความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาและ แก้ไขปัญหา เพื่อนำ �ไปใช้ในการวางแผน ออกแบบ และสร้างชิ้นงานเพื่อนำ �มาแก้ปัญหา ต่อไป ตาราง 1 หลักการของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานผ่านการออกแบบเชิงวิศวกรรม จีระวรรณ เกษสิงห์ • รองศาสตราจารย์ สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • e-mail: fedujwk@ku.ac.th ณภัทร วอนศิริ • นิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 5 สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การเรียนกระตุ้้� น ความคิด

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1