นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
43 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน ขั้นตอนการจั การเรียนรู้ บทบาทครู บทบาทนักเรียน (4) ขั� นออกแบบเชิงวิศวกรรม (Engineer) เป้าหมายสำ �คัญ คือ นักเรียนสามารถวางแผน และออกแบบชิ้นงาน โดยคำ �นึงถึงความสำ �คัญ ของสาเหตุที่ควรจัดการ พร้อมกับสร้างชิ้นงาน ตามแผนที่วางไว้ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น และ สามารถสรุปแนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม และแนวทางปรับปรุงชิ้นงานของตนเองให้ สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ ครูให้นักเรียนนำ �ความรู้มาใช้ในกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยทำ �การวางแผน ออกแบบ ตรวจสอบแบบ สร้างชิ้นงาน ทดสอบชิ้นงาน และปรับปรุงชิ้นงาน (หากมี เวลา) ตามลำ �ดับ นักเรียนจัดลำ �ดับความสำ �คัญของสาเหตุ และจัดการกับสาเหตุเหล่านั้นตามลำ �ดับให้ สอดคล้องกับความรู้้�ท ี้นคว้ามา โดยผ่าน กระบวนการวางแผน ออกแบบ ตรวจสอบแบบ สร้างชิ้นงาน และทดสอบชิ้นงาน นักเรียนจะต้อง สามารถสรุปแนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม และแนวทางการปรับปรุงชิ้นงานให้สามารถ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5) ขั� นประเมินผล (Evaluate) เป้าหมายส� ำคัญ คือ นักเรียนสามารถประเมิน การท� ำงาน และชิ้นงานของตนเองได้ ครูให้นักเรียนประเมินการท� ำงาน และชิ้นงาน ของตนเอง ใน 3 หัวข้อ คือ ความสามารถใน การแก้ปัญหาของชิ้นงาน ความเหมาะสมใน การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ และความถูกต้อง ขององค์ความรู้ที่น� ำมาใช้ในการสร้างชิ้นงาน นักเรียนประเมินการท� ำงาน และชิ้นงานของ ตนเองตามหัวข้อที่ครูก� ำหนดให้ จากสถานการณ์วิกฤตินำ� �ท่วมจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เขียนนำ �มาแตกเป็น 3 สถานการณ์ปัญหาที่่ีความจำ �เพาะลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และสอดคล้องกับเนื้อหาเรื่องแรงพยุง แรงเสียดทาน และโมเมนต์ของแรง ที่จะทำ �การสอนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2562 ดังนั้นจึงได้แบ่งการสอนออกเป็น 3 ภารกิจตามเนื้อหา และสมมติภารกิจให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มรับผิดชอบ เพื่อตามหานักเรียนกลุ่มที่่ีความสามารถในการนำ �ความรู้้ิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา ดีทีุ่่ด ให้ชื่อกิจกรรมนี้้่า TripleS (ย่อมาจาก Super Scientists who are the best Solvers) เพื่อให้เกิดความน่าสนใจและ กระตุ้นการมีส่วนร่วม โดยนักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มละ 4-5 คน) ทำ �งานร่วมกันเป็นทีมเพื่อแก้ไข 3 สถานการณ์ปัญหา กลุ่มที่เก็บสะสมคะแนนได้สูงสุดหลังจบ 3 ภารกิจ จะได้รับตำ �แหน่ง TripleS ไปครอง โดยการสอนในแต่ละแผนการจัด การเรียนรู้้�น น เริ่มจากผู้สอนนำ �เสนอสถานการณ์ปัญหา แผนที่ 1 เรื่อง แรงพยุง ปัญหาคือ ชาวบ้านไม่มีที่อยู่อาศัย ที่แข็งแรงและปลอดภัย แผนที่ 2 เรื่อง แรงเสียดทาน ปัญหาคือ การขนส่งถุงยังชีพไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยนำ� �ท่วม มีความล่าช้าและยากลำ �บาก และแผนที่ 3 เรื่อง โมเมนต์ของแรง ปัญหาคือ ชาวบ้านต้องใช้แรงมากในการยกยอหาปลา เนื่องจากอาหารไม่เพียงพอและไม่สามารถออกไปซื้้� ออาหารได้ ในบทความนี้ขอยกตัวอย่างกิจกรรมในแผนที่ 3 เรื่อง วิกฤตนำ� �ท่วมจังหวัดอุบลราชธานี : การสร้างยอยกปลาที่่่วยผ่อนแรง ซึ่่� งใช้เวลาทั้งสิ้นจำ �นวน 5 คาบเรียนๆ ละ 50 นาที ดังนี้ ขั้้� นที่� 1 กระตุ้ ามส ใจ ครูนำ �เสนอสถานการณ์ปัญหา โดยเล่าเรื่อง การเกิด นำ� �ท่วมที่่ังหวัดอุบลราชธานี ที่่่งผลให้ชาวบ้านไม่สามารถ ออกไปซื้้� ออาหารได้ ชาวบ้านใช้ยอยกปลาเพื่อหาอาหารกินเอง แต่เนื่องจากการยกยอแต่ละครั้งต้องใช้แรงมาก และบางครั้ง อาจไม่ได้ปลาเลย ทำ �ให้ไม่คุ้มค่ากับแรงที่เสียไป ในระหว่าง การเล่าเรื่องมีการใช้สื่อประกอบการอธิบายสถานการณ์ เพื่อดึงดูดความสนใจ และช่วยให้นักเรียนเข้าใจสถานการณ์ ได้ดียิ่งขึ้น ได้แก่ แบบจำ �ลองยอยกปลาและปลา ดังภาพ 1 ภาพ 1 แบบจำ �ลองยอยกปลาและปลา สำ �หรับประกอบ การอธิบายสถานการณ์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1