นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
44 นิตยสาร สสวท.ิ ต ขั้้� นที่� 2 สำ �ร จและค้้ า 2.1 ครูให้นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และเขียนความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุกับปัญหา และสาเหตุกับสาเหตุ เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจว่า โครงสร้างของปัญหานั้นมีสาเหตุหรือปัจจัยอะไรบ้าง หรือปัจจัยใดบ้างที่เราต้องจัดการ/ควบคุม ดังแสดงในภาพ 3 นอกจากการเล่าเรื่องให้นักเรียนฟังแล้ว เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจรายละเอียดของสถานการณ์ปัญหามากขึ้น และ สกัดปัญหาจากสถานการณ์ได้ชัดเจนขึ้น ครูจึงให้นักเรียนอ่านสถานการณ์ปัญหาในใบกิจกรรม ดังแสดงในภาพ 2 อีกครั้ง จากนั้นครูนำ �อภิปรายร่วมกันทั้งชั้นเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาได้ โดยใช้คำ �ถามดังนี้ (1) จากสถานการณ์ข้างต้น ครูต้องการให้นักเรียนช่วยเหลือเรื่องอะไร (คำ �ตอบที่คาดหวัง: ออกแบบและสร้างยอยกปลาที่ใช้แรง ในการยกน้อยลง แต่ยกปลาที่่ีนำ� �หนักมากได้ หรือยอยกปลาที่่่วยผ่อนแรง) และ (2) ถ้านักเรียนทำ �ได้สำ �เร็จ เราจะสามารถ แก้ปัญหาอะไรได้ (คำ �ตอบที่คาดหวัง: การหาปลาที่่้องใช้แรงมากในการยกยอ) ภาพ 2 สถานการณ์ปัญหา เรื่อง โมเมนต์ของแรง ภาพ 3 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความสัมพันธ์ของสาเหตุกับสาเหตุ และสาเหตุกับปัญหา จากนั้นครูจึงใช้คำ �ถามนำ �อภิปรายร่วมกัน เพื่อเชื่อมโยงสู่องค์ความรู้้�ท เป็นประโยชน์ ต่อการแก้ปัญหา ดังนี้ (1) ยอยกปลาเป็นเครื่องมือผ่อนแรงประเภทใด (คำ �ตอบที่คาดหวัง: คาน) (2) นักเรียนคิดว่าจะจัดหมุนและจุดที่ออกแรงยกบนคานอย่างไร จึงจะช่วยให้ออกแรงน้อยลงใน การยกวัตถุที่่ีนำ� �หนักมาก (คำ �ตอบที่คาดหวัง: กำ �หนดให้วัตถุที่จะยกอยู่ใกล้กับจุดหมุน และ จุดที่ออกแรงยกอยู่ไกลจากจุดหมุน) 2.2 ครูให้นักเรียนชมวีดิทัศน์การทดลองเรื่อง คาน (สแกน QR code ด้านขวา) เพื่อหา คำ �ตอบการจัดวางตำ �แหน่งต่างๆ ของคาน ที่จะช่วยให้ออกแรงน้อยลงในการยกวัตถุที่่ีนำ� �หนัก หรือจะทำ �อย่างไรให้คานช่วยผ่อนแรง QR Code วีดิทัศน์ แสดงกิจกรรมการทดลอง เรื่อง ความสมดุลของคาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1