นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
45 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน 2.3 หลังการชมวีดิทัศน์ ครูนำ �นักเรียนอภิปรายผลการสังเกตการทดลองในวีดิทัศน์ โดยใช้คำ �ถามดังนี้ (1) การทดลอง มีทั้งหมดกี่ตอน และตอนใดบ้างที่คานอยู่ในสภาพสมดุล (คำ �ตอบที่คาดหวัง: มี 3 ตอน และทั้ง 3 ตอน คานอยู่ในสภาพ สมดุล) (2) การทดลองในแต่ละตอน มีการใช้จำ �นวนถุงทราย และการวางระยะจากจุดแขวนถุงทรายถึงจุดหมุนเท่ากันหรือไม่ อย่างไร (คำ �ตอบที่คาดหวัง: ใช้จำ �นวนถุงทรายเท่ากัน หากการวางระยะห่างจากจุดแขวนถุงทรายถึงจุดหมุนของแต่ละข้าง ของคานเท่ากัน และใช้จำ �นวนถุงทรายไม่เท่ากัน หากการวางระยะห่างจากจุดแขวนถุงทรายถึงจุดหมุนของแต่ละข้างของคาน ไม่เท่ากัน) (3) เพราะเหตุใดคานของทั้งสามการทดลองจึงอยู่ในสภาพสมดุลได้ (คำ �ตอบที่คาดหวัง: เพราะผลคูณของนำ� �หนัก ถุงทรายกับระยะห่างจากจุดหมุนเท่ากันทั้งสองข้างของคาน) และครูจดสรุปผลการอภิปรายไว้บนกระดาน 2.4 นักเรียนทำ �ใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเรื่องโมเมนต์ของแรง โดยในใบกิจกรรมจะมีสถานการณ์ และมีช่องว่างให้นักเรียนเติมตัวเลขนำ� �หนักของถุงทรายและระยะห่างจากจุดหมุน เพื่อทำ �ให้คานอยู่ในสภาพสมดุล รวมทั้ง ให้นักเรียนเขียนสรุปผลการทดลองและตอบคำ �ถาม ขั้้� นที่� 3 อธิ า ามร้� ขั้้� นที่� 4 ออกแบบ เชิิงวิิศ กรรม ครูนำ �นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปองค์ความรู้เรื่องโมเมนต์ของแรง จนเกิดความเข้าใจ ก่อนที่จะให้นักเรียนนำ � ความรู้ไปใช้ในการออกแบบ และสร้างยอยกปลาที่สามารถผ่อนแรงได้ดีทีุ่่ด 4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มเรียงลำ �ดับความสำ �คัญของสาเหตุของปัญหาการหาปลาโดยใช้ยอยกปลา พร้อมบอกวิธี จัดการกับสาเหตุหรือปัจจัยเหล่านั้น ก่อนนำ �มาประกอบการออกแบบการสร้างยอยกปลาที่่่วยผ่อนแรง ถ้านักเรียนสามารถ ออกแบบยอยกปลาที่่ัดการกับสาเหตุได้ตามลำ �ดับครบทุกข้อ นักเรียนก็จะสามารถแก้ปัญหาได้ ซึ่่� งมีหลักการพิจารณาสาเหตุ ที่่ำ �คัญทีุ่่ดของปัญหา 2 ข้อ คือ (1) สาเหตุที่เมื่อจัดการ/ควบคุมได้แล้วจะสามารถจัดการกับสาเหตุอื่นๆ ได้ (2) สาเหตุที่ เมื่อจัดการแล้วจะทำ �ให้มีโอกาสสูงที่จะสามารถแก้ปัญหาได้สำ �เร็จ 4.2 ครูชี้แจงวัสดุอุปกรณ์ที่่ัดหาให้ และเกณฑ์์การประเมินความสำ �เร็จในการสร้างยอยกปลา เพื่อให้นักเรียน ทราบถึงขอบเขตในการสร้างยอปลา จากนั้นจึงให้นักเรียนช่วยกันออกแบบตัวคานของยอ พร้อมระบุระยะที่จะติดตั้งจุดหมุน จุดแขวนสวิง และจุดที่่ักเรียนจะออกแรง โดยหลักคิดในการออกแบบชิ้นงานต้องเชื่อมโยงกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง โมเมนต์ของแรง ด้วย 4.3 นักเรียนนำ �เสนอแบบร่าง และทำ �การอภิปรายร่วมกัน จากนั้นครูจึงให้แต่ละกลุ่มสร้างยอยกปลาตามที่ ออกแบบไว้ นักเรียนสามารถนำ �ยอที่สร้างขึ้นมาทดสอบและปรับปรุงได้จนถึงก่อนวันทดสอบจริง ซึ่่� งจะจัดให้อยู่คนละคาบกัน เพื่อให้นักเรียนสามารถนำ �ยอยกปลากลับไปแก้ไขนอกเวลาเรียนได้ โดยวีดิทัศน์ได้นำ �เสนอรายละเอียดของ การทดลองเรื่อง ความสมดุลของคาน ซึ่่� งแสดงผลที่ เกิดขึ้นจากการย้ายตำ �แหน่งวัตถุและจุดหมุนบนคาน สาเหตุที่่�ผ เขียนเลือกใช้วีดิทัศน์แทนการให้นักเรียน ทำ �การทดลองด้วยตนเองนั้น เนื่องจากมีวัสดุอุปกรณ์ ไม่เพียงพอกับนักเรียนทุกกลุ่ม อีกทั้งวีดิทัศน์ก็ให้ ผลการทดลองค่อนข้างชัดเจน สามารถกดหยุดและ ดูซ้ำำ� �ได้ ที่มา https://www.scimath.org/video-science/item/9887-2019-02-28-04- 35-08
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1