นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
46 นิตยสาร สสวท.ิ ต หากเป้าหมายในการสอนวิทยาศาสตร์ของท่านมีมากกว่าการให้นักเรียนนำ �ความรู้ไปใช้ในการสอบ แต่มุ่งหวังให้ นักเรียนสามารถนำ �สิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง และมีทักษะปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานผ่านการออกแบบเชิงวิศวกรรม อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่่่วยให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน และเกิดการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย ดังนั้นผู้เขียนขอเชิญชวนให้ลองนำ �กิจกรรมการเรียนรู้ “วิกฤตนำ � �ท่วมจังหวัดอุุบลราชธานี : การสร้าง ยอยกปลาที่่่วยผ่อนแรง” ไปปรับใช้ เพื่อให้ประสบการณ์การเรียนรู้้ิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่่่าจดจำ �สำ �หรับผู้เรียน บรรณานุกรม Grubbs, M. & Strimel, G. (2015). Engineering Design: The Great Integrator. Journal of STEM Teacher Education, 50 (1): 77-90. ฉลองวุฒิ จันทร์หอม และ จีระวรรณ เกษสิงห์. (2561). การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาแบบ 6E Learning เรื่องโรคทางพันธุกรรม: กล้ามเนื้อ เสื่อมดูเชน (Duchenne Muscular Dystrophy). นิตย าร วท, 45 (212): 32-36. สุธิดา การีมี. (2561). การใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ และทักษะในการแก้ปัญหา ตอนที่ 2. นิตย าร วท, 46 (210): 44-49. ขั้้� นที่� 5 ประเมิ ล ทสรุป นักเรียนประเมินยอยกปลาของกลุ่มตนเอง เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมในการนำ �ไปเป็นต้นแบบการสร้าง ยอยกปลาเพื่อช่วยเหลือชาวบ้าน โดยเขียนผลการประเมินลงในใบกิจกรรมตามหัวข้อ ได้แก่ (1) ความสามารถของชิ้นงาน ในการแก้ปัญหา (ประสิทธิภาพของยอยกปลาที่่่อนแรงผู้ยก) (2) ความเหมาะสมของวัสดุอุปกรณ์ที่เลือกใช้ และ (3) ความถูกต้อง ขององค์ความรู้้�ท ใช้ในการสร้างชิ้นงาน ภาพ 4 การทดสอบชิ้นงาน 4.5 ครูเลือกตัวแทนนักเรียนกลุ่มที่ได้คะแนนมาก ทีุ่่ด และกลุ่มที่ได้คะแนนน้อยทีุ่่ด ออกมานำ �เสนอชิ้นงาน ของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนำ �อภิปรายร่วมกันทั้งชั้น เพื่อสรุปว่าสิ่งที่ควรปรับปรุงชิ้นงานคืออะไร เพราะอะไร โดยอิงจากองค์ความรู้เรื่องโมเมนต์ของแรง และผลการ ทดสอบที่่ักเรียนแต่ละกลุ่มทำ �ได้ 4.6 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปแนวทาง การแก้ปัญหาที่่ีประสิทธิภาพ และวิธีการปรับปรุงชิ้นงาน ของกลุ่มตนเองลงในใบกิจกรรม รวมทั้งเขียนการแก้ปัญหา ของกลุ่มที่เชื่อมโยงองค์ความรู้เรื่องโมเมนต์ของแรง 4.4 เมื่อนักเรียนทุกกลุ่มสร้างยอยกปลาเสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุ่มนำ �มาทดสอบหน้าชั้นเรียน ในระหว่างการทดสอบ ให้บันทึกวีดิทัศน์แบบ Real Time เพื่อให้นักเรียนกลุ่มอื่นๆ มองเห็นผลการทดสอบ และนำ �มาใช้อภิปรายจุดแข็งจุดอ่อน ของชิ้นงานของแต่ละกลุ่มได้ชัดเจน รวมทั้งเพื่อให้การประเมินคะแนนตามเกณฑ์์มีความโปร่งใสยุติธรรม โดยในการทดสอบ เริ่มจากให้ตัวแทนกลุ่มออกมาจัดตำ �แหน่งจุดหมุน จุดแขวนสวิง และจุดที่จะออกแรงยกยอยกปลา (นำ� �หนักของปลาในสวิง เท่ากับ 10 นิวตัน) จากนั้นใส่ดินนำ� �มันที่หนักก้อนละ 1 นิวตันทีละก้อนลงอีกด้านหนึ่งของสวิง เพื่อเป็นตัวแทนของแรงที่คนใช้ ในการยกยอยกปลาจนกว่าคานจะอยู่ในสภาพสมดุล ดังภาพ 4 โดยกลุ่มที่ใช้จำ �นวนดินนำ� �มันน้อยทีุ่่ด แสดงว่ายอยกปลา มีประสิทธิภาพมากทีุ่่ดในการผ่อนแรง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1