นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
48 นิตยสาร สสวท.ิ ต จากข้อมูลข้างต้น พบว่าเป้าหมายและการดำ �เนินงานของแต่ละโครงการมีจุดเน้นแตกต่างกันไป ซึ่่� งรายละเอียด ของแต่ละโครงการในแต่ละประเทศมีดังนี้ ป ะเท ในแถบ ะติินอเมริิกา ป ะเท ไต้้หวััน ประเทศเปรู เม็กิ โก และชิลี มีหลักสูตรพิเศษด้านสะเต็มสำ �หรับนักเรียนหญิงโดยเฉพาะ หรือ SAGA (STEM and Gender Advancement) ที่่่านมา เพศหญิงในสังคมละตินอเมริกาเป็นคนกลุ่มน้อยที่ได้รับการศึกษา เพราะถูกปิดกั้นทั้งจาก สถานศึกษาและสังคมวัฒนธรรม ทำ �ให้ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ได้เท่าเทียมกับเพศชาย นอกจากนี้ ยังมี ปัจจัยอื่นอีก เช่น วัฒนธรรมการแต่งงานเมื่ออายุยังน้อย การขาดตัวอย่างเพศหญิงที่ประสบความสำ �เร็จด้านวิทยาศาสตร์ การยึดติดและให้ความสำ �คัญกับภาพลักษณ์ในการทำ �งานของเพศชาย เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำ �เนินการโครงการ SAGA เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเพศหญิงในสายงานด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีให้มากยิ่งขึ้น ลดช่องว่างและเพิ่มความเท่าเทียมของเพศชายและเพศหญิง ทั้งนี้เหตุผลสำ �คัญที่ประเทศแถบละตินอเมริกาได้ให้ความสำ �คัญ ประเทศไต้หวันมีโครงการที่เรียกว่า High Scope Program หรือ HSP มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้สถานศึกษา สามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเองได้ โดยเปิดรับสมัครโรงเรียนที่สนใจการพัฒนาหลักสูตรสะเต็มศึกษาที่ผสม ผสานเทคโนโลยี ซึ่่� งโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่สนใจสามารถเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากรัฐบาล ทั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศ โรงเรียนที่ขอรับทุนสามารถเสนอชื่อมหาวิทยาลัยในท้องถิ่น เพื่อช่วยโรงเรียนพัฒนาหลักสูตรและการสอนในชั้นเรียนที่เน้น ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้้ำ �นวยการโรงเรียนมีบทบาทเป็นหัวหน้าโครงการและคัดเลือกครูที่สนใจเข้าร่วมโครงการ โดยก่อนเริ่มโครงการจะมีการสำ �รวจความต้องการพัฒนาของแต่ละโรงเรียนว่าสนใจพัฒนาสะเต็มศึกษาในด้านใดบ้าง เช่น ด้านพลังงาน ด้านดิจิทัล ด้านเทคโนโลยี VR หรือ VE แผนการพัฒนาโครงการแบ่งเป็นหลายระยะ ระยะแรกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 - 2554 มีมหาวิทยาลัย 28 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 18 แห่ง และโรงเรียนอาชีวะศึกษา 10 แห่ง ระยะที่ 2 ปี พ.ศ. 2555 - 2559 มีมหาวิทยาลัย 40 แห่ง โรงเรียนมัธยม 70 แห่ง โรงเรียนอาชีวศึกษา 28 แห่ง และเริ่มมีโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 4 แห่ง และระยะที่ 3 พ.ศ. 2559 - 2562 มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับประถมศึกษาตอนปลายเพิ่มมากขึ้น แผนการพัฒนาหลักสูตรของแต่ละสถานศึกษาใช้รูปแบบ A-PIE (Analysis, Planning, Implementing and Evaluation) ในแต่ละระยะจะมีการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอน ปีแรกเป็นการวางแผนจัดทำ �หลักสูตรในโรงเรียน โดยบุคลากรในโรงเรียน ต้องร่วมกันวิเคราะห์เป้าหมายหรือจุดเน้นของหลักสูตร ปีที่ 2 เป็นการทดลองใช้หลักสูตร และปีที่ 3 เป็นการประเมินหลักสูตร ในส่วนของการบริหารจัดการหลักสูตร แต่ละโรงเรียนจะลดเวลาของวิชาบังคับแล้วเพิ่มเวลาของวิชาเลือกเสรี ทำ �ให้นักเรียน มีโอกาสเลือกสิ่งที่ตนเองสนใจเรียนรู้ได้มากขึ้น อีกทั้งทำ �ให้ครูมีโอกาสร่วมกันพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆ ที่ตอบสนองความต้องการ ของนักเรียนด้วย ในการส่งเสริมสะเต็มศึกษาสำ �หรับเพศหญิง เนื่องจากมี เป้าหมายการพัฒนาประเทศด้วยการพัฒนาตลาดแรงงาน ในอนาคต ต้องการเพิ่มจำ �นวนนักวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ที่ เป็นเพศหญิงมากขึ้น ต้องการส่งเสริมให้ได้รับการยอมรับ ในชุมชนนักวิทยาศาสตร์ให้มากขึ้น กิจกรรมที่่ีการส่งเสริม เพศหญิงในด้านนี้้ีหลายอย่าง อาทิ การจัดประกวดภาพถ่าย สตรีในสายงานด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ การมอบรางวัลสตรีในด้านวิทยาศาสตร์ การแข่งขันชิงทุน ด้านการพัฒนาสตรีในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1