นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
59 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน QUIZ สวัสดีผู้้่านทุกคน ต่ายดีใจมากที่ประชาชนคนไทยได้ร่วมมือกัน ก้าวผ่านความยากลำ �บากด่านแรกมาได้แล้ว สำ �หรับ เหตุการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัส COVID-19 และในเวลานี้ไม่มีรายงานการตรวจพบผู้้ิดเชื้อที่เกิดขึ้นภายในประเทศไทย ต่ายเชื่อว่าทุกคนได้ทราบข่าวนี้แล้ว ต่อจากนี้ไป วิถีชีวิตของเราและคนทั้งโลกจะเปลี่ยนไป โดยจะร่วมกันปฏิบัติตัวในแบบที่จะช่วยกัน ลดการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในมุมกลับกัน ในช่วงเวลาที่มนุษย์รู้้ึกว่ามันแย่ เพราะต้องหยุดกิจกรรมต่างๆ กักตัวอยู่่้าน ไม่มีการเดินทางไปมาหาสู่่ัน ไม่มีการเดินทางท่องเที่ยว หรือเดินทางระหว่างประเทศ ชาวโลกก็พบว่า ธรรมชาติทีู่่กทำ �ลายจาก กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมก็ลดลงในทุกๆ ส่วนของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นภูเขา แม่นำ� � นำ� �ทะเล ใต้ทะเล สิ่งมีชีวิต ชนิดต่างๆ ปลอดภัยมากขึ้น และปรากฎตัวออกมาให้มนุษย์เห็นผ่านสื่อต่างๆ ยกเว้นปัญหาขยะพลาสติกจากบรรจุภัณฑ์์ต่างๆ มีเพิ่มขึ้น ซึ่่� งเกิดจากการจับจ่ายซื้้� อของผ่านระบบออนไลน์ในช่วงเวลากักตัวเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 สิ่งต่างๆ เหล่านี้้่ายเชื่อว่าจะเป็นสิ่งเตือนใจ ให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ และอาจจะส่งผลให้มีการปรับนโยบายต่างๆ ตามมา เพื่อรักษาธรรมชาติ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อมโดยรวมไว้ ให้มีโอกาสได้ฟ้� นกลับคืนมา เช่น อาจจะมีการประกาศเพิ่มระยะเวลาในการปิดอุทยานแห่งชาติทั้งทางบกและทางทะเลเพิ่มขึ้น โดยไม่จำ �เป็นต้องปิดพร้อมกัน ทุกแห่ง เพื่อที่จะยังทำ �ให้มนุษย์สามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ ต่ายก็แอบหวังไว้ว่า นี่อาจจะเป็นแนวทางใหม่ที่มนุษย์จะนำ �มาใช้ รวมถึงการรณรงค์ให้ช่วยกันล้างบรรจุภัณฑ์์พลาสติกต่างๆ หลังจากใช้แล้ว เพื่อนำ �มาใส่กล่องรับพลาสติกเหล่านั้นกลับมา Recycle ในโครงการ "ส่งพลาสติกกลับบ้าน" สำ �หรับการระบาดของ COVID-19 ในช่วงแรกๆ ทุกฝ่าย ทุกหน่วยงานจะพุ่งเป้าไปที่่�ผ ู่วยที่แสดงอาการให้เห็น ทำ �ให้ง่าย ต่อการตรวจหาเชื้อและการรักษา เมื่อเวลาผ่านมา มีสิ่งที่่่ากลัวที่ นักวิทยาศาสตร์และบุคลากรทางการแพทย์จากส่วนต่างๆ ทั่วโลกพบ ก็คือ มี "ผู้้่วยที่่ีเชื� อแต่ไม่แส งอาการ" กระจายตัวอยู่ในสังคมด้วย ในกรณีนี้้ำ �ให้ต่ายนึกถึงภาพยนตร์ดัง เรื่อง X-MEN ที่เราไม่มีทางรู้ เลยว่าใครป่วยหรือไม่ป่วย จนกว่าจะมีการตรวจหาเชื้อในห้องทดลอง ซึ่่� งมีการคาดการณ์เอาไว้ว่า น่าจะมีผู้้่วยในกลุ่มที่ไม่แสดงอาการนี้ สูงถึง 50-75% ของจำ �นวนผู้้่วยทั้งหมด ดังนั้น การที่่ัฐบาลแจ้งว่า "วันนี้ไม่มีการตรวจพบผู้้่วยใหม่" นั่นไม่ได้หมายความว่า ไม่มีคนป่วย รอบๆ ตัวคุณนะ นอกเหนือจากที่่่ายเล่าไปในฉบับที่แล้วว่า คนอ้วนและ คนป่วยมะเร็งมีโอกาสติดเชื้อได้มากกว่า ต่อมานักวิทยาศาสตร์ ก็พบว่า หลังจากการติดเชื้อแล้ว ผู้้่วยติดเชื้อเพศชายจะมีโอกาส เสียชีวิตมากกว่าเพศหญิง โดยในนิวยอร์คพบว่า ผู้้่วย COVID-19 ที่เสียชีวิตมากกว่า 60% เป็นผู้ชาย ส่วนในประเทศจีนพบว่าผู้้่วยชาย ภาพ 1 ส่งพลาสติกกลับบ้าน - วงจรขยะ ที่มา https://www.facebook.com/sendplastichome มีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าผู้้่วยหญิง 1.7 เท่า เมื่อย้อนกลับไปดู การศึกษาการติดเชื้อไวรัส SARS-CoV ในหนูทดลองที่เคยระบาดมาก่อนหน้านี้ (ซึ่่� งเป็นไวรัสในกลุ่มเดียวกัน) พบว่าหนูทดลองเพศผู้ ที่สร้างฮอร์โมนได้ปกติ และหนูทดลองเพศเมียที่ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนได้ จะตายก่อนหนูทดลองเพศเมีย หลังจาก ที่ได้รับเชื้อ SARS-CoV เข้าไปในร่างกาย นั่นสะท้อนให้เห็นว่าเอสโตรเจนมีผลต่อการต่อสู้้้องกันโรค ในขณะเดียวกัน เราก็รู้้ันดี จากการศึกษาวิจัยมาก่อนหน้านี้้่า เอสโตรเจน ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงในการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับการเสียสมดุลของระบบ ภูมิคุ้มกัน เช่น การเกิดโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ( M ultiple S clerosis) ซึ่่� งจะเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย นั้นแสดงให้เห็นว่า เอสโตรเจนเองก็ไม่น่าจะเป็นทางเลือกสำ �หรับการรักษา เพราะมีความเสี่ยงที่จะเหนี่ยวนำ �ทำ �ให้เกิดโรคอื่นตามมา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1