นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563
8 นิตยสาร สสวท.ิ ต นัักวิิทย์์(น้้อ ) ...พิิชิิตภัั พิิบััติ รอบร้� วิทย์์ ดร.วชิร ศรีคุ้ม • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: wsrik@ipst.ac.th ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขับเคลื่อนโลกให้เจริญรุดหน้าในด้านต่างๆ ทำ �ให้มนุษย์ใช้ชีวิตได้สะดวกสบายมากขึ้น ในขณะเดียวกันกิจกรรมที่่ำ �ให้สะดวกสบายเหล่านั้น มักมีส่วนเป็น ตัวเร่งให้เกิดภาวะโลกร้อน ส่งผลทำ �ให้เกิดภัยพิบัติไปทั่วโลก เช่น ภัยแล้ง ไฟป่า นำ� �ท่วม พายุฝน นำ� �แข็งขั้วโลก หลอมเหลว การเพิ่มขึ้นของระดับนำ� �ทะเล รวมถึงโรคอุบัติใหม่ เมื่อเวลาผ่านไป ภัยพิบัติเหล่านี้้�ย งทวีความรุนแรง และเกิดขึ้นบ่อยครั้ง สาเหตุหลักของปัญหานี้มาจากกิจกรรมของมนุษย์ที่่ีการปล่อยแก๊สเรือนกระจกเข้าสู่่� ช นบรรยากาศ เพิ่มมากขึ้น ทำ �ให้ธรรมชาติขาดความสมดุล ส่งผลกระทบต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตบนโลกอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ด้วยเหตุนี้ในแวดวงการศึกษาจึงให้ความสำ �คัญกับการรับรู้้้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ซึ่่� งหมายถึง ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของสิ่งแวดล้อม และสถานการณ์หรือกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องรอบตัว โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของอากาศ ภูมิอากาศ ดิน อาหาร พลังงาน และระบบนิเวศ ได้ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็น สำ �คัญในระดับโลก ระดับชาติ ระดับชุมชน ถึงหลักสูตรในสถานศึกษาเช่นกัน (National Research Council [NRC], 2013; P21, 2014) ด้วยเหตุนี้ ในการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด การทำ �ความเข้าใจผู้เรียนจึงมี ความสำ �คัญเป็นอย่างมาก เพราะบริบทต่างๆ ในปัจจุบันแตกต่างไปจากเดิมมาก ดังตัวอย่างผลงานทางวิชาการ ของ Veen และ Vrakking (2006) ซึ่่� งได้รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแนวโน้มของลักษณะผู้เรียน รูปแบบการเรียน และ การจัดการเรียนการสอนในอนาคต และตีพิมพ์หนังสือ Homo Zappiens, Growing up in a Digital Age ซึ่่� งมีเนื้อหา เปรียบเทียบว่า ผู้เรียนในอนาคตมีความแตกต่างจากผู้เรียนในอดีตมาก จนอาจเรียกได้ว่าเป็นมนุษย์อีกสายพันธ์หนึ่ง โดยใช้คำ �เรียกผู้เรียนในอนาคตว่า Homo Zappians และบรรยายลักษณะของผู้เรียนในอนาคต รวมทั้งความชอบ และทัศนคติต่อเรื่องต่างๆ ดังภาพ 1 ภาพ 1 ความแตกต่างในการเรียนรู้ของผู้เรียนในอนาคตกับผู้เรียนในอดีต ที่มา Veen และ Vrakking, 2006
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1