นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563

9 ปีที่ 48 ฉบับที่ 224 พฤษภาคม - มิถุนายน 2563ี ที่ ั บี่ ิ ถุน ภาพ 2 แผนผังแสดงภาพรวมและรายละเอียดของกิจกรรม จากงานวิจัยที่ Veen และ Vrakking รวบรวมไว้ พบว่าผู้เรียนในอนาคตมีลักษณะแตกต่างจากผู้เรียนในอดีต หลายอย่าง เช่น ต้องการความเร็วในทุกเรื่อง (High S peed) มีความสามารถทำ �กิจกรรมหลายอย่างในเวลาเดียวกัน (M ultitasking) กระบวนการทำ �งานที่ไม่จำ �เป็นต้องมีรูปแบบขั้นตอน สามารถข้ามไปมาระหว่างขั้นตอนต่างๆ ได้ ( Non Linear Approaches) มีทักษะเชิงสัญลักษณ์ก่อนทักษะการอ่าน (Iconic S kills F irst) เรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ ( Collaborative) เรียนรู้จากการเล่น (Learning by Playing) เรียนรู้โดยการสืบค้น (Learning by S earching) มีจินตนาการ และความเพ้อฝันมากกว่าเดิม ( F antasy) เมื่อลักษณะการเรียนรู้และใช้ชีวิตของผู้เรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไป การจัดการเรียนรู้้�ท งในและ นอกห้องเรียนที่เหมาะสม และสอดคล้องกับลักษณะผู้เรียนจึงควรเปลี่ยนแปลง เพื่อสอดรับกับความต้องการที่ เปลี่ยนไปด้วย ด้วยเหตุนี้้� ผ เขียนจึงนำ �เสนอแนวทางในการจัดประสบการณ์เรียนรู้้�ท สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน และมีความเกี่ยวข้องกับประเด็นสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติทั้งทางธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ต่อยอดไปสู่การแก้ปัญหา ที่ประยุกต์ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเพิ่มจินตนาการและความท้าทายสู่เรื่องที่่่าสนใจ เช่น เทคโนโลยีอวกาศ และดาราศาสตร์ ซึ่่� งผู้เขียนได้ออกแบบการจัดกิจกรรม "นักวิทย์...พิชิตภัยพิบัติ" ให้กับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษา ตอนต้น ภาพรวมของการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 3 ตอน ดังรายละเอียดในภาพ 2 กิจกรรมท่� 1 ภัั พิิบััติคืืออะไร เกิดขึ้้� ได้อย่่างไร ผู้้� เรีียน ะดมความคิดเกี่่� ยวั บภััยพิิบัติิและสาเหตุุ า เิ ด ภััยพิิบัติิ วมถึึงแนวทาง า แก้้ไขปััญหาที� เป็็นไ ได้ • ะดาษวาดเขียน • สีไม้้หรืือสีเทียน • ะดาษวาดเขียน • สีไม้้หรืือสีเทียน • ใบความรู้� ะบบสุริิยะ • ะดาษวาดเขียน • ใบิ จ ม • อุ ณ์์ ามใบิ จ ม ( ายละเอียดในิ จ มที� 3) วััสดุและอุปกรณ์์ กิจกรรมท่� 2 ย้้า ไปดา เ ราะห์์ด งใด ผู้้� เรีียนสืบค้นข้อมูลและอภิิ ายเกี่่� ยวั บดาวเค าะห์ใน ะบบสุริิยะ เพื่� อหาดาวเค าะห์ที� มีส า คล้ายั บโล กิจกรรมท่� 3 ลงจอดบน ดาวอััง าร ผู้้� เรีียน วบ วมความคิด ะยุ์ ความรู้� ใน า แก้้ ปััญหา สร้้างยานลงจอดบนดาวเค าะห์โดยให้้ัิ นอว าศ ลอดภััย ามเงื� อนไขและข้อจำั ดที� ำ �หนด เวลาที่่� ใช้้ 90 นาทีี เวลาที่่� ใช้้ 30 นาทีี เวลาที่่� ใช้้ 60 นาทีี ผู้เขียนได้ทดลองใช้กิจกรรมนี้ในงาน “3 ทศวรรษ นำ� �พระทัยสมเด็จเจ้าฟ้าสู่โอลิมปิกวิชาการ” ส่วนของกิจกรรม โครงการมหาวิทยาลัยเด็ก โดยใช้เวลาดำ �เนินกิจกรรมทั้งสิ้น 180 นาที มีนักเรียนเข้าร่วม 2 รอบ รอบละ 80 คน โดยมีแนวทาง ในการดำ �เนินกิจกรรมดังต่อไปนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1