นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป ในช่วงนี้โรงเรียนได้เปิดสอนในรูปแบบ New Normal เราทุกคนได้ปรับตัวกับระบบการศึกษา ในรูปแบบใหม่ ซึ่่� งเห็นได้ว่าเราใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนการสอนกันมากขึ้น (Digital Disruption) สสวท. ในฐานะผู้้ำ �การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ด้วยการนำ �เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการทำ �งานอย่างก้าวกระโดด สสวท. ปลดล็อคสู่่ิถีออนไลน์ เราปรับตัว ในสถานการณ์นี้ได้เช่นไร... ติดตามในบทความ สสวท. ได้จัดอบรมกิจกรรมปฏิิบัติการล่าลูกนำ � �ในรูปแบบออนไลน์ โดยใช้แอปพลิเคชันู ม (ZOOM) จากที่เคยอบรมแบบ “ F ace-to- F ace” ซี่่� งเป็นความท้าทายภายใต้สถานการณ์นี้ ระหว่างการ อบรมมีการใช้สื่อแอปพลิเคชันทำ �กิจกรรมเพื่อให้ครูเกิดความคุ้นเคย และนำ �สื่อเหล่านี้ไปปรับใช้กับ การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน สร้างปฏิิสัมพันธ์ระหว่างการทำ �กิจกรรมเสมือนการเรียนการสอน ในชั้นเรียน มาตรการสำ �คัญในการควบคุมโรคโควิด-19 คือการตรวจคัดกรองผู้้ิดเชื้อ เราควรทำ �ความเข้าใจ เกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลการตรวจที่เป็นไปได้สองแบบ ได้แก่ ผลบวก ( P ositive) และผลลบ (Negative) แต่ผลที่ได้นี้อาจไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง โดยผลบวกอาจเป็นได้ทั้งผลบวกจริง ( T rue P ositive) ผลบวกปลอม ( F alse P ositive) ผลลบจริง ( T rue Negative) ผลลบปลอม ( F alse Negative) ผลที่เกิดขึ้น เหล่านี้้�ข นอยู่่ับความถูกต้องแม่นยำ �ของเครื่องมือ เรามีสถานการณ์ให้ลองพิจารณากัน การใช้สื่อสังคมอย่างสร้างสรรค์ โดยไม่สร้างความเดือดร้อนหรือเสียหายต่อผู้้�อ น โดยต้อง “คิด” ก่อนที่จะทำ �กิจกรรมต่างๆ ในสื่อสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นการแชร์ โพสต์ คอมเม้นต์ แฮชแท็ก ฉบับนี้จะขยายความประเด็นเป็นเรื่องจริง (True) ว่า ข้อมูลนั้นจริงหรือไม่ มีความน่าเชื่อถือสำ �หรับนำ � ไปใช้อ้างอิงได้หรือไม่ ตรวจสอบได้อย่างไร อ่านนิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ emagazine.ipst.ac.th ได้ก่อนใคร และติดตามเราได้ที่ facebook.com/ipstmag ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร ที่มา: https://www.bangkokpost.com/thailand/general/ 1944224/pupils-delight-at-reopening-of-schools เปิดเล่ม สสวท.ี 48 ฉั 225 กรกฎาคม - ิงหาคม 2563

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1