นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
13 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง ตารางแสดงปริมาณร้อยละของ HOCl และ OCl – ที่ 25 ํC pH 6.0 – 8.5 HOCl เป็นกรดอ่อน เมื่อละลายในนำ� �จะแตกตัวได้ไฮโดรเนียมไออน (H 3 O + ) และ ไฮโปคลอไรท์ไอออน (OCl − ) ปฏิิกิริยานี้เป็นปฏิิกิริยาผันกลับได้ ดังสมการ HOCl(aq) + H 2 O(l) ⇌ H 3 O + (aq) + OCl − (aq) ทั้ง HOCl และ OCl − สามารถกำ �จัดแบคทีเรียและตะไคร่นำ� �ได้ โดย HOCl มีประสิทธิภาพที่่ีกว่า ดังนั้น ต้องมี การควบคุมปริมาณ HOCl และ OCl − ให้เหมาะสม ปริมาณของ HOCl และ OCl − ที่อยู่ในสระว่ายนำ� �ขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น ปริมาณ HOCl และ OCl − จะลดลง เนื่องจากใช้ในการกำ �จัดแบคทีเรียและตะไคร่นำ� � รวมทั้งการเกิดปฏิิกิริยากับสารประกอบ อินทรีย์ที่อยู่ในสระว่ายนำ� �หรือการสลายตัวเมื่อถูกแสงแดด โดย OCl − เมื่อโดนแสงยูวี ( ν UV ) จากแสงแดดจะสลายตัวได้ เร็วกว่า HOCl ดังสมการ ถ้า pH มีค่าตำ� � (มีปริมาณ H 3 O + ในนำ� �มาก) จะส่งผลให้มี HOCl เพิ่มขึ้น เนื่องจากระบบจะปรับตัวเพื่อลดปริมาณ H 3 O + โดยเกิดปฏิิกิริยาระหว่าง H 3 O + และ OCl − เพิ่มขึ้น ทำ �ให้ได้ HOCl เพิ่มขึ้น ดังสมการเคมี HOCl(aq) + H 2 O(l) ⇀� H 3 O + (aq) + OCl − (aq) แต่ถ้า pH มีค่าสูง (มีปริมาณ OH − ในนำ� �มาก) จะส่งผลให้ HOCl ลดลง เนื่องจาก H 3 O + จะทำ �ปฏิิกิริยากับ OH − ทำ �ให้ H 3 O + ลดลง ดังสมการเคมี OH − (aq) + H 3 O + (aq) D 2H 2 O(l) ระบบจะปรับตัวเพื่อเพิ่มปริมาณ H 3 O + โดย HOCl จะแตกตัวเพิ่มขึ้น ทำ �ให้ได้ H 3 O + และ OCl − เพิ่มขึ้น ดังสมการเคมี HOCl(aq) �↽ H 3 O + (aq) + OCl − (aq) pH % OCl - % HOCl 6.0 3.5 96.5 6.5 10.0 90.0 7.0 27.5 72.5 7.5 50.0 50.0 8.0 78.5 21.5 8.5 90.0 10.0 นอกจากนี้ ปริมาณ HOCl ยังขึ้นกับระดับ pH ในสระว่ายนำ � � โดยที่ pH ตำ� � จะมีปริมาณ HOCl มาก ส่วนที่ pH สูง จะมีปริมาณ HOCl น้อย แต่ที่ pH 7.5 จะมีปริมาณ HOCl และ OCl − เท่ากัน ดังข้อมูลในตาราง 2OCl − + ν UV D 2Cl − + O 2 2HOCl + ν UV D 2HCl + O 2
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1