นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
15 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง รอบร้� คณิิต อัมริสา จันทนะศิริ • นักวิชาการอาวุโส สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท.• e-mail: amcha@ipst.ac.th จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื� อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (COVID-19) ซึ่่� งเป็นโรค อุบัติใหม่ที่พบการระบาดครั� งแรกในเมืองอู่่�ฮ น มณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 และได้เกิดการแพร่ระบาดใหญ่ทั่วโลกตามประกาศขององค์การอนามัยโลก จึงส่งผลกระทบต่อชีวิตของทุกคน ในทุกมิติอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทำ �ให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตเปลี่ยนไปอย่างฉับพลัน เกิดเป็นวิถีชีวิตใหม่ ( N ew N ormal) ทีุ่่กคนต้องปรับตัวเพ่� อรับมือกับสถานการณ์นี� หนึ่งในมาตรการสำ �คัญในการควบคุมโรคโควิด-19 คือการตรวจคัดกรองผู้้ิดเชื้อ โดยในหลายประเทศที่่ีจำ �นวน ผู้้ิดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องได้มีการวิพากษ์วิจารณ์กันว่า ควรเพิ่มการตรวจคัดกรองให้เป็นวงกว้างมากขึ้น นอกจาก การตรวจในผู้้�ท ีีอาการเข้าเกณฑ์์และผู้้�ท ีีความเสี่ยงสูงแล้ว ควรเพิ่มการตรวจในผู้ไม่มีอาการรวมทั้งผู้้�ท ีีความเสี่ยงตำ� � และ ในบางประเทศได้มีการเรียกร้องให้ปูพรมตรวจทั้งประเทศ เพื่อให้สามารถตัดวงจรการแพร่เชื้อ และให้ผู้้่วยเข้าสู่กระบวนการ รักษาได้อย่างทันท่วงที มาตรการนี้้ังดูอาจไม่คุ้มค่าสำ �หรับประเทศที่่ีจำ �นวนผู้้ิดเชื้อไม่มาก เมื่อเทียบกับทรัพยากร และบุคลากรทางการแพทย์ที่่ีจำ �กัด แต่สำ �หรับประเทศที่่ีจำ �นวนผู้้ิดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจนระบบสาธารณสุข ไม่สามารถรองรับผู้้่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่่� งอาจทำ �ให้เกิดการเสียชีวิตเกินคาดการณ์ และก่อให้เกิดผลกระทบที่ รุนแรงมากขึ้น การเพิ่มการตรวจคัดกรองน่าจะช่วยให้สามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว และช่วยบรรเทา ความสูญเสียที่มากขึ้นได้ แต่ทำ �ไมมาตรการนี้กลับยังเป็นที่่ิพากษ์วิจารณ์กัน ก่อนอื่นเราต้องทำ �ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลการตรวจคัดกรองโรคโดยทั่วไปกันก่อน บุคคลใดก็ตาม ที่เข้ารับการตรวจคัดกรองโรค จะมีผลการตรวจที่เป็นไปได้สองแบบ ได้แก่ ผลบวก ( P ositive) คือพบว่าติดเชื้อ และผลลบ ( Negative) คือไม่พบว่าติดเชื้อ แต่ผลที่ได้นี้อาจไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง โดยผลบวกอาจเป็นได้ทั้งผลบวกจริง (T rue P ositive) คือตรวจพบว่าติดเชื้อจริง และผลบวกปลอม ( F alse P ositive) คือตรวจพบว่าติดเชื้อแต่ในความเป็นจริง ไม่ได้ติดเชื้อ ในทำ �นองเดียวกัน ผลลบก็อาจเป็นได้ทั้งผลลบจริง ( T rue Negative) คือตรวจพบว่าไม่ติดเชื้อจริง และผลลบปลอม (F alse Negative) คือตรวจไม่พบว่าติดเชื้อแต่ในความเป็นจริงติดเชื้อ ผลที่เกิดขึ้นเหล่านี้้�ข นอยู่่ับความถูกต้องแม่นยำ �ของ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจคัดกรองโรค ซึ่่� งจะต้องนำ �ไปพิจารณาในการแปลผลที่ได้จากการตรวจ เพราะหากเราเข้ารับการตรวจ คัดกรองโรคแล้วได้ผลบวก แสดงว่าผลบวกนั้นอาจจะเป็นผลบวกจริงหรือผลบวกปลอมก็ได้ นั่นคืออาจเป็นไปได้ว่าเราติดเชื้อ จริงหรือไม่ได้ติดเชื้อก็ได้ แล้วจะทราบได้อย่างไรว่าเรามีโอกาสติดเชื้อจริงๆ มากหรือน้อยเพียงใด เรามาลองหาคำ �ตอบกัน โดยพิจารณาจากสถานการณ์ต่อไปนี้ สมมติประเทศหนึ่งมีผู้้ิดเชื้อ 0.1% ของประชากรทั้งหมด และสมมติการตรวจคัดกรองผู้้ิดเชื้อโควิด-19 มีอัตรา การเกิดผลบวกจริง 80% และผลลบจริง 99.9% ของการตรวจทั้งหมด ถ้าสุ่มคน 10,000 คน เข้ารับการตรวจคัดกรอง เราสามารถคาดการณ์ได้ว่า ในจำ �นวนผู้เข้ารับการตรวจ 10,000 คนนี้ จะมีผู้้ิดเชื้อ 0.1 100 x 10,000 = 10 คน และมีผู้้�ท ไม่ติดเชื้อ 10,000 - 10 = 9,990 คน ผลบวกปลอม ในการตรวจคััดกรอง โร โควิิด-19 COVID-19TEST (CORONAVIRUS)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1