นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

18 นิตยสาร สสวท.ิ ต สถานการณ์์ทางคณิิตศาสตร์ กับแนวคิดเชิิงคำ �นว แนวคิดเชิงคำ �นวณ (computational thinking) เป็นกระบวนการหนึ่งที่อาศัยทักษะพื้นฐานในการคิดแก้ปัญหาตาม สถานการณ์ต่างๆ และใช้ทักษะการคิดเชิงคำ �นวณในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ รวมถึงสามารถ นำ �ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาที่่ีความั บ้ อนที่พบในชีวิตจริงได้ มนุษย์เราเรียนรู้และแก้ปัญหาต่างๆ อยู่ตลอดเวลา เพียงแต่การแก้ปัญหาตามแนวคิดนี้เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนวทางการหาคำ �ตอบอย่างเป็นขั้นตอน ที่สามารถนำ �ไปปฏิิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและแม่นยำ � (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี, 2562) แนวคิดเชิงคำ �นวณมีองค์ประกอบที่่ำ �คัญ 4 ส่วน ได้แก่ 1) การแบ่งปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อย หรือ เรียกว่า “แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition)” เป็นการแตกปัญหาใหญ่ที่่ีความั บ้ อนให้เป็นปัญหาย่อยที่่ีขนาดเล็กลง และั บ้ อนน้อยลง เพื่อช่วยให้การวิเคราะห์และออกแบบวิธีการแก้ปัญหาทำ �ได้ง่ายขึ้น 2) การพิจารณารูปแบบ หรือเรียกว่า “แนวคิดการจดจำ �รูปแบบ ( P attern recognition)” เป็นการวิเคราะห์หาความเหมือนหรือความคล้ายคลึงกันระหว่างปัญหาย่อย ที่แตกออกมาหรือความคล้ายคลึงกับปัญหาอื่นๆ ที่่ีผู้ออกแบบวิธีการแก้ไขไว้ก่อนแล้ว 3) การคิดเชิงนามธรรม หรือเรียกว่า “แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)” เป็นการมุ่งเน้นความสำ �คัญของปัญหาโดยการแยกรายละเอียดที่่ำ �คัญและจำ �เป็นต่อ การแก้ปัญหาออกจากรายละเอียดที่ไม่จำ �เป็น รวมถึงการแทนกลุ่มของปัญหา ขั้นตอน หรือกระบวนการที่่ีรายละเอียด ปลีกย่อยหลายขั้นตอนด้วยขั้นตอนใหม่เพียงขั้นตอนเดียว เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงแก่นแท้ของปัญหา และ 4) การออกแบบ อัลกอริทึม หรือเรียกว่า “แนวคิดการออกแบบขั้นตอน (Algorithm)” เป็นการพัฒนากระบวนการหาคำ �ตอบให้เป็นลำ �ดับขั้นตอน ทีุ่่คคลหรือคอมพิวเตอร์สามารถนำ �ไปปฏิิบัติตามเพื่อแก้ปัญหาที่่ีลักษณะเดียวกันได้ ทรงยศ สกุลยา • ครู โรงเรียนสระหลวงพิทยาคม จังหวัดพิจิตร • e-mail: s.sakunya@hotmail.com รอบร้� คณิิต ภาพ 1 องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำ �นวณ (Computational T hinking) ที่มา Association for Computing Machinery, 2017

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1