นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
19 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง Computational Thinking • Simulation • Data mining • Networking • Automated D ata C ollection • Gaming • Algorithmic R easoning • Robotics • Programming • Counting • Arithmetic • Algebra • Geometry • Calculus • Set theory • Topology • Problem S olving • Modeling • Data analysis & I nterpretation • Statistics & P robability Mathematical Thinking ในชีวิตจริง เราพบอาจเป็นปัญหาที่ไม่ั บ้ อนและสามารถคิดหาวิธีการแก้ปัญหานั้นได้โดยง่าย แต่บางสถานการณ์ เราก็อาจพบปัญหาที่่�ซับ้ อนและต้องใช้เวลานานในการแก้ปัญหาเพื่อให้ได้คำ �ตอบที่่้องการ เมื่อกล่าวถึงการแก้ปัญหาหลายคน อาจนึกถึงการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ซึ่่� งเกี่ยวข้องกับการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ ( M athematical T hinking) ควบคู่่ับ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการแก้ปัญหา ทำ �ให้เกิดการคิดอย่างมีเหตุมีผล แนวคิดทางคณิตศาสตร์ดังกล่าวประกอบด้วย 3 ส่วนสำ �คัญ ได้แก่ 1) ส่วนที่เป็นความเชื่อทางคณิตศาสตร์ (beliefs about math) 2) ส่วนที่เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ( P roblem solving P rocesses) และ 3) ส่วนที่เป็นการพิจารณา ความเหมาะสมของคำ �ตอบ (Justification for Solutions) ซึ่่� งพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทางคณิตศาสตร์กับแนวคิด เชิงคำ �นวณคือ กระบวนการแก้ปัญหา (Wing, 2008) นอกจากนี้ Sneider, et.al (2014) ได้แสดงความเกี่ยวพันของ แนวคิดทั้งสองว่าประกอบด้วยการแก้ปัญหา การสร้างแบบจำ �ลอง การวิเคราะห์และตีความหมายของข้อมูล และสถิติและ ความน่าจะเป็น ดังภาพ 2 ซึ่่� งทั้งสองเป็นแนวคิดที่่ำ �คัญในการจัดการกับปัญหาที่่�ซับ้ อน สามารถช่วยแก้ปัญหา ช่วยให้เกิดการ คิดอย่างมีวิจารณญาณและความสามารถในการให้เหตุผล จึงเป็นทักษะหรือแนวคิดพื้นฐานที่่ำ �เป็นสำ �หรับหลักสูตรวิทยาการ คำ �นวณ และเป็นสิ่งสำ �คัญที่่้องรวมแง่มุมของคณิตศาสตร์และตัวอย่างที่เกี่ยวข้องไว้ในหลักสูตร (Association for Computing Machinery, 2017) จึงเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาการคำ �นวณได้ให้ความสำ �คัญกับกระบวนการแก้ปัญหา ดังนั้นการฝึกปฏิิบัติการคิดที่สอดคล้องกับแนวคิดเชิงคำ �นวณ และแนวคิดทางคณิตศาสตร์ควบคู่่ันไป จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด การคิดอย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาได้อย่างเป็นลำ �ดับขั้นตอน และช่วยพัฒนาพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์อีกด้วย ภาพ 2 ความเกี่ยวพันระหว่างแนวคิดเชิงคำ �นวณและแนวคิดทางคณิตศาสตร์ ที่มา Shute, V.J., Sun, C. & Asbell-Clarke, J., 2017
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1