นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
21 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง การคิดเชิงนามธรรม ในสถานการณ์ “ส่งจดหมายถึงบ้าน” จากการแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย และการพิจารณารูปแบบข้างต้น สามารถแบ่งเป็น 5 แบบ ได้แก่ ส่งพัสดุสามชิ้นรวมกันในกล่องเดียวกันได้ 1 แบบ ส่งพัสดุสองชิ้นรวมกันและอีกหนึ่งชิ้นแยกกันได้ 3 แบบ และส่ง พัสดุแยกชิ้นกันได้ 1 แบบ ซึ่่� งพบว่าการส่งพัสดุสามชิ้นรวมกันในกล่องเดียวกันไม่สามารถส่งได้ จึงตัดออกจาก กระบวนการแก้ปัญหา ดังภาพ 3 ปัญหาย่อยที่ 2 ส่งพัสดุสองชิ้นรวมกัน และแยกส่งพัสดุอีกหนึ่งชิ้นที่เหลือ จะต้องจ่ายค่าบริการส่งเท่าใด คำ �ตอบ เนื่องจากพัสดุสองชุดใดๆ มีนำ� �หนักไม่เกิน 2,000 กรัม จะแบ่งเป็น 3 กรณี ดังนี้ ส่งพัสดุชิ้นที่ 1 และ 2 รวมกันหนัก w 1 + w 2 กรัม และอีกชิ้นหนัก w 3 กรัม ส่งพัสดุชิ้นที่ 1 และ 3 รวมกันหนัก w 1 + w 3 กรัม และอีกชิ้นหนัก w 2 กรัม ส่งพัสดุชิ้นที่ 2 และ 3 รวมกันหนัก w 2 + w 3 กรัม และอีกชิ้นหนัก w 1 กรัม แล้วนำ �แต่ละกรณีไปคิดค่าบริการส่งตามตาราง 1 และคิดค่าบริการส่งรวม ปัญหาย่อยที่ 3 ส่งพัสดุแยกชิ้นกัน จะต้องจ่ายค่าบริการส่งเท่าใด คำ �ตอบ ส่งพัสดุแยกเป็น 3 ชิ้น โดยนำ� �หนักอาจเป็น w 1 , w 2 และ w 3 กรัม ตามลำ �ดับ แล้วนำ �แต่ละชิ้นไปคิดค่าบริการส่งตามตาราง 1 และคิดค่าบริการส่งรวม จะเห็นว่าแต่ละปัญหาย่อยนั้นต่างก็มีรูปแบบเดียวกัน และมุ่งหาคำ �ตอบในลักษณะเดียวกันคือ ปัญหาย่อย ค่าใช้จ่ายในการบริการส่งพัสดุแบบลงทะเบียนเป็นเท่าใด คำ �ตอบ คิดค่าบริการส่งพัสดุลงทะเบียน และคิดค่าบริการส่งรวม ภาพ 3 แนวคิดการพิจารณาเลือกบริการส่งพัสดุลงทะเบียนในราคาประหยัดทีุ่่ด นำ� �หนักเกิน ส่งได้ 3 แบบ ส่งได้ 1 แบบ 1 1 2 2 3 3 1 2 3 3 2 1 1 2 3 ส่งสามชิ� นรวมกัน ส่งแยกชิ� นกัน ส่งสองชิ� นรวมกันและอีกหนึ่งชิ� นแยกกัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1