นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

22 นิตยสาร สสวท.ิ ต การออกแบบอัลกอริทึม กระบวนการที่่่านมาสามารถนำ �มาออกแบบเป็นอัลกอริทึมสำ �หรับการแก้ปัญหาได้ดังนี้ ขั� นตอนหลัก 1. ทำ �ขั้นตอนต่อไปนี้้�ซำ� �จนกระทั่งครบทุกแบบ 1.1 คิดค่าบริการส่งพัสดุลงทะเบียนตามตาราง 1.2 คิดค่าบริการส่งรวม 2. เปรียบเทียบค่าบริการส่งแต่ละแบบ 3. แสดงค่าบริการส่งแบบที่ประหยัดทีุ่่ด สาระท่� 2 การวัดแ ะเรขาคณิิต สถานการณ์ขนมสอดไส้ ร้านขายขนมของป้าศรี มีขนมสอดไส้เป็นของหวานที่่ีรสชาติอร่อยและเป็นที่่้องการ ของลูกค้าจำ �นวนมาก ขนมสอดไส้ประกอบด้วยส่วนที่เป็นแป้งห่อไส้ (สีขาว) และส่วนที่เป็นไส้ขนม ซึ่่� งป้าศรีจะปั� นไส้ขนม ให้เป็นทรงกลม และห่อด้วยใบตองให้เป็นทรงสูงที่ฐานมีความยาวแต่ละด้านเท่ากับ a เ นติเมตร แล้วคาดด้วยเตี่ยวใบมะพร้าว นอกจากนี้พบว่าด้านของขนมสอดไส้ที่ไม่ได้ถูกคาดด้วยเตี่ยวใบมะพร้าวจะมีหน้าตัดที่่ีความยาวแต่ละด้านเท่ากัน อยากทราบว่า เมื่อนึ่งเสร็จแล้วแป้งห่อไส้ (สีขาว) จะมีปริมาตรเท่าใด ถ้าไส้ขนมอยู่แนบชิดกับขอบของแป้งห่อไส้พอดี แนวคิดเชิงคำ �นวณ เมื่อวิเคราะห์สถานการณ์ข้างต้นแล้ว จะเห็นว่าการแก้ปัญหาอาจไม่จำ �เป็นต้องปฏิิบัติตาม แนวคิดเชิงคำ �นวณทั้ง 4 ขั้นตอน ตามลำ �ดับ และบางขั้นตอนสามารถปฏิิบัติพร้อมกันได้ โดยสถานการณ์นี้เริ่มต้นด้วย การคิดเชิงนามธรรมในการวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อให้เห็นส่วนที่่ำ �คัญของสถานการณ์ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ตามด้วยการแบ่ง ปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อยร่วมกับการพิจารณารูปแบบของสถานการณ์ โดยใช้การคิดเชิงนามธรรมเพื่อหาข้อมูลที่่ำ �เป็น ในการแก้ปัญหาย่อย แล้วจึงเรียบเรียงให้เป็นอัลกอริทึม การคิดเชิงนามธรรมในการวิเคราะห์ ในสถานการณ์ “ขนมสอดไส้” เนื่องจากสถานการณ์นี้้้องการทราบปริมาตรของแป้งห่อไส้ (สีขาว) หลังจากการนึ่งแล้ว ขนาดของใบตอง ความสูงของห่อขนม หรือความยาวเตี่ยวที่ใช้คาดห่อขนมจึงไม่ใช่ข้อมูลที่่ำ �เป็นต้องใช้ ซึ่่� งข้อมูลที่่ำ �เป็น มีเพียงปริมาตรของแป้งห่อไส้ (สีขาว) ที่ไม่มีไส้ขนมเท่านั้น ดังภาพ 4 ภาพ 4 แนวคิดการหาปริมาตรของแป้งห่อไส้ (สีขาว)

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1