นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
26 นิตยสาร สสวท.ิ ต จากตัวอย่างข้างต้น เห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยอาศัยแนวคิดเชิงคำ �นวณควบคู่่ับแนวคิด ทางคณิตศาสตร์ จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการคิดอย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาได้อย่างเป็นลำ �ดับขั้นตอน ซึ่่� งการนำ �แนวคิด เชิงคำ �นวณมาใช้ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบนั้น ไม่ได้จำ �กัดความเฉพาะความคิดสำ �หรับนักวิทยาศาสตร์หรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ยังสามารถนำ �ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ปัญหาทั่วไปได้ จึงนับว่าเป็นเรื่องที่่้าทายของการศึกษาไทย ในปัจจุบัน ที่ครูผู้สอนจะต้องจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถถ่ายทอดความคิด หรือจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานของ นักเรียน เพื่อนำ �ไปสู่การแก้ปัญหา และสร้างองค์ความรู้ได้อย่างมีคุณค่า ตลอดจนดำ �รงชีวิตอยู่ในสังคมโลกได้อย่างมีคุณภาพ บรรณานุกรม Association for Computing Machinery. (2017). Computational Thinking in K-12 Education. Retrieved March 12, 2020, from http://cspathshala.org/2017/10/25/computational-thinking-curriculum. Shute, V.J. & Sun, C. & Asbell-Clarke, J. (2017). Demystifying computational thinking. Educational Research Review, 22 (1), 142-158. Retrieved May 20, 2020, from https://www.learntechlib.org/p/204418. Sneider, C. & Stephenson, C. & Schafer, B. & Flick, L. (2014). Computational Thinking in High School Science Classrooms. Science Teacher, 81 (5), 53-59. Retrieved May 20, 2020, from https://www.learntechlib.org/p/155904. Wing, J.M. (2008). Computational thinking and thinking about computing. Phil. Trans. R. Soc. A, 366, 3717–3725. Retrieved March 9, 2020, from https://doi.org/10.1098/rsta.2008.0118. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนังสือรายวิ าพื� นฐานวิทยาศาสตร์์ เท โนโลยี (วิทยาการ ำ �นวณ) ชั้� นมัธยมศึกษาปีีที� 2 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การพิจารณารูปแบบและการคิดเชิงนามธรรม ในสถานการณ์ “วงล้อนำ �โชค” กระบวนการที่่่านมาสามารถนำ �มาออกแบบเป็นอัลกอริทึมสำ �หรับการแก้ปัญหาได้ดังนี้ 1. กำ �หนดให้ n แทนจำ �นวนตัวเลขในวงล้อที่หนึ่ง 2. กำ �หนดให้ m แทนจำ �นวนตัวอักษรในวงล้อที่สอง 3. กำ �หนดให้ B แทนราคาตั� วหนึ่งใบ 4. จำ �นวนผลลัพธ์ทั้งหมด Ã n x m 5. จำ �นวนเหตุการณ์ที่จะได้รางวัลใหญ่ Ã n 2 6. จำ �นวนเหตุการณ์ที่จะได้รางวัลเล็ก Ã จำ �นวนผลลัพธ์ทั้งหมด − จำ �นวนเหตุการณ์ที่จะได้รางวัลใหญ่ 7. ความน่าจะเป็นที่จะได้รางวัลใหญ่ Ã จำ �นวนเหตุการณ์ที่จะได้รางวัลใหญ่ จำ �นวนผลลัพธ์ทั้งหมด 8. ความน่าจะเป็นที่จะได้รางวัลเล็ก Ã 1− ความน่าจะเป็นที่จะได้รางวัลใหญ่ 9. ค่าคาดหมาย Ã (100× ความน่าจะเป็นที่จะได้รางวัลใหญ่) + (10 × ความน่าจะเป็นที่จะได้รางวัลเล็ก) 10. ค่าการได้เปรียบหรือเสียเปรียบ Ã B − ค่าคาดหมาย 11. แสดงค่าคาดหมาย 12. แสดงค่าการได้เปรียบหรือเสียเปรียบ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1