นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

33 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง ภาพ 3 Infographic เรื่อง เตือนเว็บไ์ ปลอม หลอกโจรกรรม ข้อมูลส่วนตัว ที่มา https://krungthai.com/th/content/financial-partner/ security-tips-for-digital-life/web-phishing ภาพ 4 พบวัตถุปริศนาในอ่าวไทย ที่มา แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ผู้เขียน ต้องพิจารณาว่าข่าวหรือข้อมูลนั้นได้ระบุชื่อผู้เขียนไว้หรือไม่ ซึ่่� งควรจะระบุเป็นชื่อจริงไม่ใช่นามแฝง และพิจารณาด้วยว่าผู้เขียนเป็นผู้้�ท ีีความเชี่ยวชาญ หรือมีหน้าที่่�ท เกี่ยวข้องกับเรื่องเหล่านั้นโดยตรงหรือไม่ โดยอาจ ค้นหาประวัติของผู้เขียนเพิ่มเติม การสังเกตยูอาร์แอล สามารถใช้ระวังภัยจาก มิจฉาชีพทางโลกไ เบอร์ เช่น ฟิชชิง ( P hishing) ได้อีกด้วย ดังที่พบเห็นในข่าวปัจจุบันที่่ีการปลอมแปลงเว็บไ์ ของ สื่อสังคมหรือธนาคาร โดยการส่งลิงก์ทางอีเมล ส่งข้อความ ในสมาร์ตโฟนหรือโปรแกรมสนทนา ให้เข้าไปกรอกข้อมูล ส่วนตัวหรือรหัสผ่าน ซึ่่� งหากมองเพียงแค่ยูอาร์แอลส่วน หน้าจะเหมือนกับเว็บไ์ นั้นจริงๆ แต่มักจะต่อท้ายด้วย ยูอาร์แอลยาวๆ หรือไม่ได้ลงท้ายด้วย .com หรือ .co.th และเมื่อคลิกเข้าไปจะพบหน้าเว็บไ์ ที่เหมือนกับเว็บไ์ จริง หากผู้ใช้หลงเชื่อและกรอกข้อมูลสำ �คัญลงไปในเว็บไ์ ปลอม เหล่านี้ มิจฉาชีพก็สามารถนำ �ข้อมูลไปสวมรอยทำ �ธุรกรรม แทนได้ สิ่งที่่้องทำ �คือ จดจำ �และสังเกตยูอาร์แอลของ เว็บไ์ ต่างๆ ที่ใช้เป็นประจำ � หรือหากเกิดข้อสงสัยให้ ติดต่อสอบถามกับหน่วยงานนั้นโดยตรง จากภาพ 4 เป็นตัวอย่างข่าวการพบวัตถุ ปริศนาในอ่าวไทย ในเนื้อหามีการเรียบเรียงและ ให้ข้อมูลที่่่าเชื่อถือ แต่สอดแทรกความคิดเห็นของ ผู้เขียน โดยมีคำ �แสดงถึงการคาดการณ์ข้อมูลที่่ัง ไม่ทราบความจริง และเมื่อพิจารณาที่่�ผ เขียนซึ่่� งมี ตำ �แหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์ ก็ยิ่งสร้าง ความน่าเชื่อถือเพิ่มขึ้น แต่เมื่อดูชื่อคณะที่่�ผ เขียน สังกัดนั้น จะเห็นว่าไม่สอดคล้องกับประเด็นในข่าว ทั้งนี้้�ผ ู้้จะให้ข้อมูลได้อย่างน่าเชื่อถือและตรงตาม ความเป็นจริง ควรจะเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านโบราณ วัตถุหรือวิทยาศาสตร์ทางทะเล ซึ่่� งเป็นสาขาวิชาที่ ใกล้เคียงมากกว่า

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1