นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

35 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง กระตุ้นความโลภ เป็นข่าวลวงที่ใช้รางวัล มาสร้างแรงรูงใจให้คนต้องการและอยากได้ เช่น ให้แชร์ ส่งต่อ หรือแสดงความคิดเห็น หลายคนอาจ จะเคยเห็นโพสต์ในลักษณะนี้ “แชร์ข่าวนี้้�ล นรับ….” หรือ “ส่งต่อในกลุ่มสนทนาครบ 10 กลุ่ม จะมีเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบ แล้วรับสติ� กเกอร์ฟรี” ผู้้่งข่าวลวงประเภทนี้ จะได้ประโยชน์ในด้านการโ ษณาเว็บไซต์์ และสินค้า โดยอาจไม่ได้มีการแจกรางวัลจริง สร้างความเกลียดชัง ข่าวลวงประเภทนี้ สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือทำ �ลายชื่อเสียงบุคคลอื่น สิ่งที่ไม่ควรทำ �อย่างยิ่งเมื่อได้รับข่าวลักษณะนี้ คือ เชื่อโดยที่ไม่ได้ตรวจสอบที่มาของข้อมูล ตัดสินคน จากข้อความเพียงไม่กี่บรรทัด แม้ว่าข่าวนั้นจะเป็น ความจริงก็ไม่ควรแชร์ต่อ หรือแสดงความเห็นด้วย คำ �หยาบคาย ภาพ 7 แค่แชร์ข่าวนี้้�ล นรับฟรี ที่มา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สสวท.) ภาพ 8 ลือหึ่ง!!! ดาราสาว อักษรย่อ ฃ. เบี้ยวนัดงาน หนีเที่ยวกลางคืน ที่มา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สสวท.) ภาพ 9 ข่าวปลอม กลั้นหายใจ ตรวจการติดเชื้อ 'ไวรัสโคโรนา' ด้วยตัวเอง ที่มา https://www.antifakenewscenter.com/ข่าวปลอม-อย่าแชร์-กลั้น/ ข่าวลวงอาจจะถูกสร้างขึ้นมาด้วยวัตถุประสงค์อื่นๆ อีก แต่ไม่ว่าจะถูกสร้างขึ้นมาด้วยวัตถุประสงค์อย่างไร ผู้ใช้งาน สื่อสังคมควรรู้เท่าทัน เพราะอาจตกเป็นเครื่องมือให้ช่วยเผยแพร่ข่าว ช่วยโ ษณาสินค้า หรือทำ �ลายชื่อเสียงผู้้�อ นโดยไม่รู้้ัว ตัวอย่างหนึ่งของสถานการณ์ที่่้องพิจารณาความ น่าเชื่อถือของข้อมูลให้มากๆ ก่อนแชร์ คือ เมื่อเกิดภัยพิบัติ หรือสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่่่งผลกระทบต่อคนหมู่มาก การแชร์ข่าวที่เกี่ยวข้องยิ่งต้องคิดให้ดีก่อนแชร์ จะเห็นได้จาก วิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) มีการแชร์ข้อมูลและข่าวเกี่ยวกับโรคดังกล่าวมากมาย ดัง ตัวอย่าง  วิธีการสังเกตตัวเองว่าติดเชื้อไวรัสโคโรน่า-19 หรือไม่ ด้วยการกลั้นหายใจ

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1