นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
38 นิตยสาร สสวท.ิ ต สะตีีมศึึกษาีึ (STEAMEducation) ผ่่านศิิลปวััฒนธรรมพื้้� นบ้้าน “โนราห์์” ่ิั้ �้์ พลภัทร ศรีวาลัย • ครูโรงเรียนสิริรัตนาธร กรุงเทพมหานคร สหรัฐ ยกย่อง • ครูโรงเรียนสิริรัตนาธร กรุงเทพมหานคร รศ.ดร.ศศิเทพ ปิติพรเทพิน • อาจารย์ประจำ �ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.วชิร ศรีคุ้ม • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: wsrik@ipst.ac.th การเรียนกระตุ้้� น ความคิด “ประเทศไทย 4.0” เป็นนโยบายหลักของรัฐบาลในยุคปัจจุบัน ที่่้องการขับเคล่� อนประเทศให้ก้าวไปสู่ กลุ่มประเทศที่่ีรายได้สูง โดยมีแนวทางการสร้างและเน้นผลิตนวัตกรรมสร้างสรรค์ เพ่� อเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ภาคการศึกษาจึงมีบทบาทที่่ำ �คัญอย่างยิ่ง ในการเตรียมความพร้อมของนักเรียนหรือทรัพยากรมุนษย์ สำ �หรับการทำ �งานในอนาคตที่่ีการเปลี่ยนแปลง อย่างฉับพลันและคาดเดาได้ยาก ซึ่่� งสะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการ ความรู้ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ( S cience) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เพ่� อฝึึก นให้ผู้เรียนสามารถและคุ้นชินกับการสร้างนวัตกรรมต่างๆ ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ� นใน ชีวิตประจำ �วันและในอนาคต ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่่ำ �คัญแห่งศตวรรษที่ 21 เช่น ทักษะการคิดแก้ปัญหา และการคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการส่� อสาร ช่วงหลายปีที่่่านมา มีการนำ �การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษามาประยุกต์ใช้ในหลากหลายบริบท เช่น สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ อาหารไทย ของเล่น การรีไ เคิล แต่บริบทที่่ังไม่ได้คำ �นึงถึงและเป็นสิ่งที่โดดเด่นมากในประเทศไทย นั่นคือ ศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน เหตุผลหนึ่งอาจมาจากสภาพความเป็นอยู่และการดำ �เนินชีวิต ในปัจจุบันซึ่่� งผู้คนอาศัยอยู่บริเวณเขตเมืองมากขึ้นและมักละเลยเรื่องพื้นบ้าน ให้ความสำ �คัญกับวัตถุนิยมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ บางส่วนอาจจะหลงลืมรากเหง้าของศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านของประเทศไทย คณะผู้เขียนจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาความรู้และ ทักษะที่่ำ �คัญแห่งศตวรรษใหม่ ไปพร้อมกับการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ เช่น “โนราห์” ดังภาพ 1 ให้คงอยู่่ับประเทศไทยต่อไปได้อย่างยั่งยืน ภาพ 1 การแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านใต้ “โนราห์” ของนักเรียนโรงเรียนสิริรัตนาธร ข้อมูลเพิ่มเติม bit.ly/225-v2
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1