นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
39 ปีที่ 48 ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ ง ภาพ 2 การแสดงโนราห์ของนักเรียนโรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพร ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=bEQwO1sXggQ ภาพ 3 ตัวอย่างผลของการตอบคำ �ถามของนักเรียนผ่าน www.mentimeter.com คณะผู้เขียนจึงได้ออกแบบกิจกรรมบนฐานคิดที่จะผนวกศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านโนราห์ ซึ่่� งเป็นการแสดงที่่ี ทั้งการร้องและการร่ายรำ ��ที เป็นการเคลื่อนไหวทางร่างกายตามจังหวะอย่างอ่อนช้อยสะท้อนถึงความเชื่อพิธีกรรม วิถีชีวิตของคน ในท้องถิ่น และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์และน่าสนใจ เพื่อใช้จัดการเรียนรู้แบบสะตีมศึกษา (STEAM Education) ที่่ัฒนาต่อยอดจากสะเต็มศึกษา โดยนำ �ศาสตร์ทางด้านศิลปะเข้ามาเพิ่มเติมด้วย ทั้งนี้้ีเป้าหมายให้นักเรียนสามารถ บูรณาการทั้งศาสตร์และศิลป์ไปพร้อมๆ กัน ช่วยส่งเสริมความสามารถในการออกแบบและสร้างนวัตกรรมด้วยความคิด สร้างสรรค์ นักเรียนได้ใช้จินตนาการอย่างสร้างสรรค์ เพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งรอบตัว และมากไปกว่านั้นคือ นักเรียนมีความสุข และสนุกในการเรียนรู้ซึ่่� งเป็นส่ิงสำ �คัญอย่างยิ่งต่อผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะตีมศึกษาในครั้งนี้ ประยุกต์ใช้วัฏจัักรการเรียนรู้ 6 ขั้น ตามกรอบแนวคิดของ Burke โดยบูรณาการแนวคิดวิทยาศาสตร์ เรื่อง “แรงและการเคลื่อนที่” ที่เป็นเนื้อหาตามมาตรฐานการเรียนรู้ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 ซึ่่� งมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ ขั้้� นที่่� 1 ขั้้� นเร้าค ามสนใจ (Engage) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยให้รับชม วีดิทัศน์การแสดง "โนราห์" ซึ่่� งเป็นศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ภาคใต้ ที่แสดงการร่ายรำ � การม้วนตัวรอบเอวเพื่อน และ การต่อตัว 2-3 ชั้น ลำ �ดับต่อไป ครูกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน โดยการตอบคำ �ถามผ่าน www.mentimeter.com ดังภาพ 3 ที่่ีลักษณะเป็น Web-based Application และรวบรวมคำ �ตอบของนักเรียนทั้งหมด เพื่อใช้ประเมินความรู้้่อนเรียน ของนักเรียนในเรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ตัวอย่างคำ �ถามที่ใช้ เช่น • นักเรียนคิดว่ามีแรงอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับการรำ �โนราห์ • นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดขณะที่โนราห์ต่อตัวกันหลายคนจึงหกล้มลงบนพื้นเวที
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1