นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
42 นิตยสาร สสวท.ิ ต ขั้้� นที่่� 5 ขั้้� นปรั ปรุง (Enrich) ขั้้� นที่่� 6 ขั้้� นประเมิน ล (Evaluate) นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ �แบบร่างมาทดสอบการต่อตัวโนราห์ตามเกณฑ์์และเงื่อนไข ดังภาพ 8 รวมทั้งจัดอันดับ คะแนนตามความสูงและความสวยงามของการต่อตัวโนราห์ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปรูปแบบการต่อตัวโนราห์ และร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัยที่่่งผลให้สามารถต่อตัวโนราห์ได้สูง จากนั้นแต่ละกลุ่มปรับปรุงและแก้ไขเพื่อพัฒนาผลงาน ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนตลอดทั้งกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การทำ �งานกลุ่ม การสัมภาษณ์นักเรียนอย่างไม่เป็นทางการ และการตรวจชิ้นงานของนักเรียน ครูให้นักเรียนแต่ะละคนเขียนอนุทินบันทึกว่า กิจกรรมนี้ได้นำ �ความรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิตศาสตร์อะไรบ้าง มาใช้ในการออกแบบ และต่อตัวโนราห์ตามเกณฑ์์ และในประเด็นความภาคภูมิใจ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะตีมศึกษาด้วยวัฏจัักรการเรียนรู้ตามกรอบแนวคิดของ Burke โดยใช้บริบท ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ “โนราห์” กิจกรรม เรื่อง “ต่อตัวโนราห์ให้สูงทีุ่่ด โดยไม่ล้ม” ทำ �ให้นักเรียนมีปฏิิสัมพันธ์เชิงรุก กับกิจกรรมดังกล่าวเป็นอย่างดี ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน โดยเฉพาะขั้นตอนที่่ำ �ความรู้แต่ละสาขาวิชาตาม แนวทางสะตีมศึกษามาใช้ในการแก้ปัญหาการต่อตัวโนราห์ ทำ �ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้้�ท ีึกซึ่่� งยิ่งขึ้น และสามารถพัฒนา ทักษะในการเรียนรู้้้ามสาขาวิชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม และส่งเสริมแนวคิด วิทยาศาสตร์ ทำ �ให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้้ิทยาศาสตร์กับศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ “โนราห์” อีกด้วย ซึ่่� งสิ่งนี้ จะทำ �ให้นักเรียนเกิดเจตคติที่่ีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาฟิสิกส์ที่หลายคนอาจจะมองเป็นเรื่องยาก ได้อย่างสนุกสนาน ภาพ 8 รูปแบบการต่อตัวโนราห์ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม บรรณานุกรม Burk, B. N. (2014). THE ITEEA 6E Learning by DeSIGN™ Model: Maximizing Informed Design and Inquiry in the Integrative STEM Classroom. Technology and Engineering Teacher. 73 (6): 14-19. National Research Council. (2012). A Framework for K-12 Science Education: Practices, Crosscutting Concepts, and Core Ideas. Retrieved February 18, 2020, from http://www.nap.edu/catalog.php?record_id=13165. Yakman G. (2008). STEAM Education: an overview of creative of integrative education. Retrieved February 18, 2020, from http://steamedu.com/. กระทรวงอุตสาหกรรม (2559). ยุทธศาสตร์์การพั นาอุุตสาหกรรมไทย 4.0 พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: สำ �นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). สะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. นิ ยสาร สสวท. 42 (186): 3-5.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1