นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

52 นิตยสาร สสวท.ิ ต จากตาราง จะเห็นได้ว่ากิจกรรมที่เป็นการบรรยายในการจัดอบรมทั้งสองรูปแบบไม่แตกต่างกัน แต่การอบรมแบบ ออนไลน์นั้น วิทยากรจะต้องใช้คำ �ถามกระตุ้นเป็นระยะ เพื่อทดสอบความเข้าใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยอาจเรียกชื่อผู้เข้า อบรมให้ตอบสด พิมพ์คำ �ตอบมาในแชท หรือกระดานหน้าจอ ใช้ระยะเวลาอบรมน้อยกว่าประมาณ 1 ชั่วโมง เนื่องจากผู้เข้า เรียนอบรมไม่ได้ลงมือปฏิิบัติจริง ซึ่่� งเป็นจุดอ่อนของการอบรมในรูปแบบออนไลน์ อาจทำ �ให้ผู้เรียนอาจขาดทักษะ แต่สามารถ แก้ปัญหาได้โดยมอบหมายงานให้ทำ �นอกเวลาแล้วส่งกลับมาในภายหลัง ซึ่่� งสามารถทำ �ได้เมื่อใช้อุปกรณ์ที่หาได้ง่าย หากเป็น กิจกรรมที่่้องการอุปกรณ์เฉพาะเจาะจงก็ไม่สามารถจัดหาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ แต่ข้อดีของการอบรมแบบออนไลน์ที่โดด เด่น ชัดเจนคือ สามารถทำ �กิจกรรมได้จากทุกสถานที่่�ท ีีสัญญาณอินเทอร์เน็ต การเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ถือเป็นรูปแบบใหม่สำ �หรับผู้เขียน ในช่วงเริ่มต้นจึงมีความตื่นเต้น กังวลเกี่ยวกับ การรับรู้ และการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เนื่องจากจะสามารถมองเห็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้จากการกรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ ดังนั้น การสังเกตจากสีหน้า แววตาจะทำ �ได้ค่อนข้างยาก จึงได้แก้ปัญหาโดยให้กด Reaction หรือให้สอบถามมาในช่องแชท หากไม่เข้าใจหรือมีปัญหา จากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของครูที่ได้เข้าร่วมทำ �กิจกรรมปฏิิบัติการล่าลูกนำ� �ยุง ทั้งในรูปแบบ Face-to-Face และออนไลน์ ได้ข้อมูลว่า 1. อาจารย์บรรณารักษ์ จากโรงเรียนวารีเชียงใหม่ จากที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 2 รูปแบบ มีความเห็นว่า กิจกรรม ปฏิิบัติการล่าลูกนำ� �ยุงสามารถทำ �ได้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และ Face-to-Face โดยหลังการอบรมจะมีความรู้เพียงพอที่จะใช้ จำ �แนกชนิดของลูกนำ� �ยุง และเกิดความตระหนักในเรื่องการทำ �ลายแหล่งเพาะพันธุ์์ุง แต่ยังมีความกังวลหากต้องทำ � การเรียนการสอนกิจกรรมนี้ในรูปแบบออนไลน์ ซึ่่� งอาจต้องใช้เวลาเพิ่มขึ้นทั้งการเตรียมการสอนและการทำ �กิจกรรม สำ �หรับ การอบรมในรูปแบบ Face-to-Face คาดว่าต้องเพิ่มจำ �นวนคนที่เป็นพี่เลี้ยงในการทำ �กิจกรรม ขณะที่่ักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกภาคสนาม และเพื่อเป็นที่ปรึกษาในการจำ �แนกชนิดของลูกนำ� �ยุง ในส่วนของอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม สามารถนัดหมาย ให้มีการเตรียมอุปกรณ์ที่่ำ �เป็นไว้ล่วงหน้า เช่น กล้องจุลทรรศน์ ช้อนและแก้วพลาสติก ไฟล์การจำ �แนกชนิดลูกนำ� �ยุง รวมถึง ข้อมูลของแหล่งสำ �รวจลูกนำ� �ยุง นอกจากนี้้ังมีความเห็นว่าระหว่างการอบรมอาจเพิ่มแอปพลิเคชันต่างๆ เช่น Edpuzzle quizzi.com สำ �หรับการติดตามความก้าวหน้าของนักเรียนในการทำ �กิจกรรม 2. อาจารย์ขุนทองคล้ายทอง จากโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยจังหวัดปทุมธานี ให้ข้อมูลว่าการจัดกิจกรรมปฏิิบัติการ ล่าลูกนำ� �ยุงทั้งสองรูปแบบ สามารถนำ �มาใช้ในการจัดเรียนการสอนในโรงเรียนได้ แต่ประสิทธิภาพของการอบรมออนไลน์ อาจไม่เทียบเท่าการอบรมแบบ Face-to-Face หากใช้เวลาในการจัดการเรียนการสอนเท่าเดิม เนื่องจากการจัดรูปแบบออนไลน์ ต้องใช้เวลาในการอบรมมากกว่า โดยอาจแบ่งออกเป็นชั่วโมงย่อยๆ เริ่มจากให้นักเรียนฟังบรรยายในส่วนของที่มาความสำ �คัญ และขั้นตอนการลงมือปฏิิบัติก่อน จากนั้นให้นักเรียนออกสำ �รวจและเก็บตัวอย่างลูกนำ� �ยุงแถวบ้าน พร้อมบันทึกวันเวลาและ ถ่ายรูปสถานที่เก็บตัวอย่าง โดยในขั้นตอนนี้ให้นักเรียนเลือกปฏิิบัติในช่วงเวลาที่สะดวก เช่น ช่วงพักทานข้าว หลังเลิกเรียน ในส่วนของกล้องจุลทรรศน์ที่่ักเรียนต้องใช้ในการจำ �แนกชนิดลูกนำ� �ยุง โรงเรียนอาจไม่สามารถหากล้องจุลทรรศน์ได้เพียงพอ ต่อจำ �นวนทั้งหมด ผู้สอนสามารถแนะนำ �ให้นักเรียนใช้แอปพลิเคชันกล้องจุลทรรศน์ในการจำ �แนกชนิดของลูกนำ� �ยุงแทน ในส่วน ของการส่งข้อมูลมีขั้นตอนที่่่ายนักเรียนสามารถดำ �เนินการได้ โดยจะลองใช้กิจกรรมนี้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ซึ่่� งอาจนำ �ไปสู่การทำ �งานวิจัยเกี่ยวกับยุงในอนาคต ที่มา https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Mosquito_wriggler.JPG

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1