นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 225 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563
58 นิตยสาร สสวท.ิ ต QUIZ ภาพ 1 ภาพเปรียบเทียบสมองของคนปกติ และการเกิดพยาธิสภาพ ในผู้้่วยอัลไ เมอร์ ที่มา https://thebrain.mcgill.ca/flash/d/d_08/d_08_cl/d_08_cl_ alz/d_08_cl_alz.html ภาพ 2 Tau protein ในไมโครทิวบูลปกติ และในไมโครทิวบูลของเ ลล์ ประสาทผู้้่วยโรคอัลไ เมอร์ ที่มา https://alzheimersnewstoday.com/2014/11/03/tau-protein- leads-to-neuronal-death-in-alzheimers/ สวัสดีผู้้่านทุกคน ในขณะนี� ทั่วโลกมีจำ �นวนผู้้ิดเชื� อ COVID-19 มากกว่า 20 ล้านคนแล้ว และต่ายเช่� อว่าจำ �นวนผู้้่วย ยังคงเพิ่มขึ� นอย่างต่อเน่� อง ทุกคนเช่� อหรือไม่ แม้ว่าสถานการณ์ผู้้่วยในระดับโลกจะแย่แค่ไหน การใช้ชีวิตในประเทศไทย ณ เวลานี� หลายคนไม่ได้กังวลหรือวิตกเกี่ยวกับการติดเชื� อมากเท่าในระยะแรกๆ ที่่ีรายงานผู้้่วยติดเชื� อในประเทศไทย นี่เป็นเพราะมาตรการของรัฐ และความร่วมมือร่วมใจของประชาชนชาวไทย จึงทำ �ให้ไม่พบผู้้ิดเชื� อภายในประเทศ ยกเว้น รายงานผู้้ิดเชื� อที่เดินทางกลับมาจากต่างประเทศ และอยู่ในสถานที่่ักตัวที่่ัฐจัดให้เพ่� อรอดูอาการเท่านั� น สำ �หรับวิถีชีวิตแบบใหม่ หรือ New Normal ที่เราได้ยินผ่านสื่อต่างๆ ซึ่่� งคอยยำ� �เตือนให้พวกเราระมัดระวังตัวเกี่ยวกับการรักษา ความสะอาด และการป้องกันการติดเชื้อไวรัสอยู่เสมอ ต้องไม่ประมาท เพราะหากพบการติดเชื้อของผู้คนภายในประเทศอีกครั้ง รัฐบาล ก็คงจะสั่งปิดห้างร้าน โรงเรียน สถานที่่่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สถานที่ราชการ และอื่นๆ อีกมากมาย รวมถึงขอความร่วมมือ ให้เราเก็บตัวอยู่่้านอีกครั้ง จนต้องเครียดไปตามๆ กัน เราจะสู้และก้าวผ่านวิกฤติของโลกในครั้งนี้ไปให้ได้ วันนี้้่ายนำ �ข่าวเรื่องโรคของสังคมสูงอายุมาฝาก โรคนั้นก็คือ โรคอัลไ เมอร์ (Alzheimer’s Disease) ซึ่่� งคาดว่าในปี 2573 ประเทศไทยจะมีผู้้่วยโรคนี้ประมาณ 1.1 ล้านคน จากประชากรไทยที่่ีตอนนี้ประมาณ 69 ล้านคน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มน้อยลง หรือลดลงในอนาคต ขณะที่่�ท วโลกมีคนป่วยด้วยโรคนี้ประมาณ 50 ล้านคน นี่่ังไม่นับรวมผู้้่วยสูงอายุจำ �นวนมากที่ไม่ได้ไปตรวจ แบบเฉพาะโรค จนได้ผลตรวจที่ระบุว่าเป็นอัลไ เมอร์ ลักษณะอาการโดยทั่วไปของผู้้่วยอัลไ เมอร์ คือ สูญเสียความทรงจำ � โดยเฉพาะความจำ �เกี่ยวกับสิ่งทีู่่ดคุยหรือเหตุการณ์ ที่เพิ่งจะเกิดขึ้น สับสนเรื่องทิศทาง เวลา วันเวลาและสถานที่ มีความผิดปกติด้านอารมณ์และพฤติกรรม และถ้าหากมีอาการมากขึ้น จะไม่สามารถทำ �กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำ �วันที่เคยทำ �ได้ ในประเทศไทยโดยกรมสุขภาพจิตรายงานไว้ว่า ในผูู้้งอายุตั้งแต่อายุ 60 ปี ขึ้นไป พบเป็นโรคอัลไ เมอร์ประมาณร้อนละ 3-6 และมักพบในผู้้่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ปัจจุบันโรคนี้้ังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เนื่องจากยังไม่รู้้ึงสาเหตุที่แท้จริงของโรค เพียงแต่รู้้่าผู้้่วยจะมีโปรตีน เบต้าอะไมลอยด์ (Beta-amyloid protein) สะสมในรูปแบบที่เรียกว่า Amyloid P laques และโปรตีนทาว (Tau P rotein) ที่จะพบใน Neurofibrillary T angles (แสดงให้เห็นถึงการเสื่อมสภาพของเ ลล์สมอง) สะสมอยู่ในสมอง ดังภาพ 1 สิ่งที่่ำ �มาใช้ได้กับวิชาชีววิทยา ที่เราเรียนกันในชั้นเรียนก็คือ เรื่องหน้าที่ของ Tau P rotein ที่่ำ �ให้โครงสร้างของไมโครทิวบูล ( M icrotubule) คงรูป ทำ �ให้เ ลล์ประสาท สามารถเชื่อมต่อและทำ �หน้าที่่่งกระแสประสาทไปมาระหว่างเ ลล์ประสาทต่างๆ ได้ตามปกติ ดังภาพ 2
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1