นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ ดวงมาลย์ บัวสังข์ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป สสวท. ได้ดำ �เนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ลดความเหลื่อมลำ� �ทางการศึกษา มุ่ง ความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ตามภารกิจหลัก 3 ด้าน ได้แก่ 1. หนังสือเรียน หลักสูตร สื่อ และการจัดการเรียนรู้ในวิถีนิวนอร์มัล โดยจัดทำ �เป็นรูปแบบสื่อดิจิทัล และใช้เทคโนโลยีที่่ันสมัย 2. พัฒนาครูและยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้้่านระบบการอบรม Face-to-Face อบรมด้วยระบบทางไกล DLTV และระบบออนไลน์ 3. ผลิตกำ �ลังคนที่่ีความสามารถ พิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จัดระบบการพัฒนาและส่งเสริมอัจฉริยภาพและ ความสามารถพิเศษสำ �หรับเยาวชนที่่ีศักยภาพสูง จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เกิดโครงการ "Project 14" ซึ่่� งมีเนื้อหาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้มีการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพและสอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ของ สสวท. ที่่ักเรียนสามารถเข้าถึงได้ง่าย ความเปลี่ยนแปลงใหม่ที่ได้ปฏิิวัติเทคโนโลยีเข้าสู่การเรียนรู้แบบออนไลน์ (Online Real-time Learning) การศึกษาทางไกล (Distance Learning) และการเรียนรู้้่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) จะถูกนำ �ไป ใช้ในวงกว้างยิ่งขึ้น เพื่อสร้างเด็กฉลาดรู้ ครูคุณภาพสูง ยกระดับการศึกษาชาติไทย แข่งขันได้ด้วยฐาน สมรรถนะอย่างมีประสิทธิภาพ การแข่งขันคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน จึงมี การปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันเพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์การควบคุมโรคและความปลอดภัยใน ยุค Social Distancing ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นการแข่งขันผ่านระบบออนไลน์ เจ้าภาพจะจัดส่งกติกา และแนวทางการควบคุมการสอบแข่งขันให้แก่ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน แต่ละสาขาวิชาก็พยายาม คงไว้ซึ่่� งกระบวนการต่างๆ ที่เคยทำ �ในการแข่งขันภาคปกติ และมีการสอบภาคปฏิิบัติการผ่านโปรแกรม เฉพาะของแต่ละสาขาวิชาผ่านระบบออนไลน์ ซึ่่� งถือเป็นความท้าทายและมิติใหม่ของการแข่งขันโอลิมปิก วิชาการระหว่างประเทศ แม้ผู้แทนประเทศไทยจะพบกับปัญหาอุปสรรคบ้าง แต่ก็ไม่ได้เป็นปัญหาที่ จะทำ �ให้ผลงานของผู้แทนประเทศไทยลดน้อยไปกว่าทุกๆ ปี ติดตามนิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ ได้ที่่�น ี่อนใคร emagazine.ipst.ac.th และติดต่อ สอบถามผ่าน facebook.com/ipstmag ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท.ี 48 ฉั 226 ันยายน - ุลาคม 2563

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1