นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563
13 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล รอบร้� วิทย์์ กฤชพล นิตินัยวินิจ • นักวิชาการ สาขาเคมีและชีววิทยา สสวท. • e-mail: kniti@ipst.ac.th พลาสติก ย่่อ สลา ได้ ลาสติกเป็นวัสดุุที่สามารถ บได้้ในชีวิตประจำ �วัน เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถปรับปรุงสมบัติได้้ อย่างหลากหลายเพื่่อให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น บรรจุภัณฑ์์ เส้นใยสังเคราะห์ ทำ �ให้มีการผลิต ลาสติกออกมา เป็นจำ �นวนมาก และก่อให้เกิดปััญหาขยะ ลาสติกตามมา ขยะพลาสติกกลายเป็นสิ่งที่่ังคมโลกให้ความสนใจ เนื่องจากพลาสติกบางชนิดไม่ย่อยสลายในธรรมชาติ หรือใช้ ระยะเวลาในการย่อยสลายยาวนาน ขยะพลาสติกบางชนิดใช้เวลาในการย่อยสลายมากกว่าร้อยปีในการย่อยสลาย จึงเกิด การตกค้างในธรรมชาติส่งผลกระทบต่อห่วงโ่ อาหาร โดยเฉพาะกับสัตว์ทะเล นอกจากนี้ ยังมีการตรวจพบ “อนุภาค พลาสติกขนาดเล็กหรือไมโครพลาสติก (Microplastics)” ในท้องของสัตว์ทะเล โดยไมโครพลาสติกชิ้นเล็กระดับไมโครเมตรที่ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เกิดจากการแตกสลายของขยะพลาสติก หรือจากผลิตภัณฑ์์พลาสติกบางชนิด เช่น ไมโครบีดส์ เม็ดสครับ ไมโครพลาสติกไม่เพียงแค่ตกค้างในธรรมชาติ แต่ยังสามารถดูดั บสารพิษ เช่น โลหะหนัก ยาฆ่่าแมลง ซึ่่� งเมื่อ สัตว์นำ� �บริโภคไมโครพลาสติกเข้าสู่่่างกาย ก็จะได้รับสารพิษที่สะสมอยู่ในไมโครพลาสติกเข้าไปด้วย ภา 1 ไมโครพลาสติกในกระเพาะของปลาทู ศูนย์ปฏิิบัติการอุทยานแห่งชาติทางทะเล ที่ 3 จ.ตรัง ที่มา https://www.facebook.com/Re4Reef/photos/a.1948037152175182/2276785545967006/
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1