นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

14 นิตยสาร สสวท.ิ ต นอกจากไมโครพลาสติกแล้ว ขยะจากผลิตภัณฑ์์พลาสติกเองก็ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ ดังเช่นข่าววิกฤตเต่าทะเลที่ ตายเพราะการบริโภคถุงพลาสติก หรือบาดเจ็บจากการที่่ีขยะพลาสติกติดตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย สังคมโลกจึงตระหนัก และให้ความสำ �คัญของปัญหาขยะพลาสติกมากขึ้น ภา 2 ขยะพลาสติกที่พบในท้องเต่าทะเล ที่มา ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล กองทัพเรือ ภา 3 การย่อยสลายของพลาสติกแตกสลายได้ทางชีวภาพ การลดการใช้ การใช้้ ำ � และการรีไ เคิล เป็นวิธีที่สามารถนำ �มาใช้ในการลดปัญหาขยะพลาสติกได้ แต่ยังมีอีกทาง เลือกหนึ่งที่เป็นที่สนใจในแวดวงวิชาการคือ การใช้พลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะแวดล้อมธรรมชาติทดแทนพลาสติก แบบเดิม ึ่งนอกจากจะสามารถใช้ประโยชน์จากพลาสติกได้เหมือนเดิมแล้ว ยังช่วยลดปัญหาขยะพลาสติกได้อีกด้วย พลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะแวดล้อมธรรมชาติ (Environmentally Degradable plastics: EDP) ยังสามารถ แบ่งได้เป็นอีก 2 ประเภท ตามกระบวนการย่อยสลาย การทำ �ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการย่อยสลายของพลาสติก แต่ละประเภทจะช่วยให้การจัดการขยะพลาสติกมีประสิทธิภาพและลดมลภาวะให้กับสิ่งแวดล้อมได้ดียิ่งขึ้น โดยพลาสติก ทั้ง 2 ประเภทนี้คือ 1. ลาสติกแตกสลายทางชีวภา ได้้ ( B iodegradable Plastic) หรือพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ สามารถผลิตได้ทั้งจากวัตถุดิบจากธรรมชาติและปิโตรเคมี พลาสติกชนิดนี้เมื่อทิ้งไว้ในสภาวะแวดล้อมทั่วไป จะไม่สามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์ และอาจแตกสลายกลายเป็นไมโครพลาสติกได้ แต่หากมีการนำ �ไป จัดการอย่างเหมาะสม มีการควบคุมสภาวะความร้อน ความชื้น และมีการให้จุลินทรีย์ พลาสติกชนิดนี้จะถูก จุลินทรีย์ย่อยสลายในลำ �ดับสุดท้ายกลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไ์ นำ� � และสารชีวมวลได้อย่างสมบูรณ์ อุณหภูมิ ความชื� น อุณหภูมิ ความชื� น CO 2 H 2 O 180 วัน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1