นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563
15 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ภา 4 การย่อยสลายของพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ 2. ลาสติกสลายตัวได้้ทางชีวภา (Compostable Plastic) ผลิตได้จากวัตถุดิบจากธรรมชาติ พลาสติก ชนิดนี้เมื่อถูกทิ้งไว้ในสภาวะแวดล้อมทั่วไป จะไม่สามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์เช่นกัน แต่เมื่อนำ �ไป จัดการในสภาวะที่เหมาะสม มีการควบคุมสภาวะความร้อน ความชื้น หรือการให้แสง UV พลาสติกชนิดนี้ จะสามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์กลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไ์ นำ� � และสารชีวมวล การจัดการ พลาสติกชนิดนี้ในต่างประเทศ จึงนิยมทำ �โดยการใช้เป็นถุงขยะสำ �หรับอาหารเท่านั้น และแยกขยะไปทำ � การหมักเพื่อให้กลายเป็นปุ� ยสำ �หรับการเพาะปลูกต่อไป แล้ ะรู้ได้้อย่่างไรว่่าพลาสติิกที่� ใช้อยู่่เป็็ พลาสติิกย่่อ สลา ได้้แบบ EDP ? ตัวชี้้ัดสำ �คัญที่แสดงว่าพลาสติกย่อยสลายได้แบบ EDP คือ การวัดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไ์ โดยมาตรฐาน มอก.17088-2555 และมาตรฐานพลาสติกที่สลายตัวได้ทางชีวภาพ กำ �หนดให้ คาร์บอนต้องเปลี่ยนเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณคาร์บอนไดออกไ์ ที่เกิดขึ้นตามทฤษฎีภายในระยะเวลาไม่เกิน 180 วัน และให้ดูการ รับรองมาตรฐานต่างๆ มี ISO 17088 ที่เป็นมาตรฐานสากล และมาตรฐานที่ใช้ในแต่ละประเทศ เช่น ในสหรัฐอเมริกา ใช้มาตรฐาน ASTM D6400 ยุโรปใช้มาตรฐาน EN 13432 ส่วนประเทศไทยใช้มาตรฐาน มอก.17088-2555 ภา 5 สัญลักษณ์มาตรฐานการรับรองพลาสติกย่อยสลายได้แบบต่างๆ อุณหภูมิ ความชื� น อุณหภูมิ ความชื� น UV UV CO 2 H 2 O 180 วัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1