นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

25 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ภา 3 รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มา https://www.scimath.org/article-mathematics/item/7754-2017-12-04-06-50-28 เธลีส ได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศอียิปต์ในช่วงที่ศาสตร์ทางด้านคณิตศาสตร์กำ �ลังรุ่งเรือง เธลีสได้คิดและเสนอ หลักการเกี่ยวกับการคำ �นวณด้านเรขาคณิต โดยเสนอวิธีคำ �นวณหาความสูงของพีระมิดที่่ียิปต์ โดยการวัดระยะทางของเงา ที่เกิดขึ้นที่ฐานของพีระมิด กับเงาของหลักที่่�ร ความสูงแน่นอน หลักการดังกล่าวเป็นลักษณะที่เราคุ้นเคยคือ การใช้รูป สามเหลี่ยมคล้าย และนั่นก็เป็นจุดเริ่มต้นหนึ่งของศาสตร์การเดินเรือที่่ำ �คัญ ในยุคที่่ีการใช้เข็มทิศแม่เหล็ก เครื่องวัดดาว และนาฬิิกาโครโนเมตร กับความรู้ทางด้านดาราศาสตร์และแผนที่ ในสมัยนั้นเพียงเท่านั้น เราเรียกวิธีการหาตำ �แหน่งและทิศทางในสมัยนี้้่า การเดินเรือรายงานและเดินเรือชายฝั� ง ซึ่่� งเป็นเพียง แค่การคาดคะเนเท่านั้น จากความเร็วและเวลา รวมถึงกระแสลม ในยุคศตวรรษที่ 12 ความรู้เรื่องการใช้เข็มทิศแม่เหล็กมี วิวัฒนาการที่่ีขึ้น โดยการใช้การโยนวัตถุลอยนำ � � และพัฒนามาเป็นการโยนท่อนไม้ทีู่่กเชือกเป็นปมลงท้ายเรือ และนับจำ �นวน ปมเชือกที่ปล่อยออกไปขณะใช้นาฬิิกาทรายจับเวลา ซึ่่� งวิธีนี้เป็นที่มาของการนับหน่วยความเร็วเรือเป็นนอต (Knot-ปมเชือก) ในยุคที่ดาราศาสตร์เฟ่� องฟู การเดินเรือโดยใช้ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์กลายเป็นเรื่องสำ �คัญ ประกอบกับเครื่องมือที่่ัฒนาสำ �หรับเดินเรือ ทำ �ให้มีการเดินทางเพื่อสำ �รวจโลกจากนักเดินทางมากมาย วิชาการเดินเรือในปัจจุบัน ก็มีการนำ �ความรู้เกี่ยวกับสามเหลี่ยมมาใช้ในการคำ �นวณหาตำ �บลที่เรือ ซึ่่� งเป็นที่่�ร ูัน ในหมู่่ักการเดินเรือและทหารเรือว่า ตำ �บลที่เรือ ก็คือละติจูด ลองจิจูด การหาตำ �บลที่เรือมีวิธีต่างๆ มากมาย ซึ่่� งแล้วแต่ อุปกรณ์ในการหาที่่ีอยู่ในเรือชนิดต่างๆ แต่สิ่งสำ �คัญทีุ่่ดคือแผนที่ ซึ่่� งมีมาตราส่วนสำ �คัญ เลขละติจูด เลขลองจิจูด ที่่ำ �ให้ เราสามารคำ �นวณและหาทิศทางของเรือนั้นได้ ก่อนหน้านี้เราคำ �นวณหาตำ �บลที่เรือด้วยวิธีการพล็อตตำ �แหน่งจากดาวเทียม และต่อมามีการใช้การคำ �นวณทาง คณิตศาสตร์ โดยสูตรที่ใช้ก็เป็นเพียงสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีบทของปีทาโกรัส (Pythagoras) หรือทฤษฎี สามเหลี่ยมมุมฉาก ที่กล่าวว่า “ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กําลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก (c) เท่ากับ ผลบวกของกําลังสองของความ ยาวด้านประกอบมุมฉาก (a, b)” c 2 = a 2 + b 2

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1