นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563
30 นิตยสาร สสวท.ิ ต การจัั การเรี นร้� า แนวทางสะเต็็ ศึึกษาัี้ �็ึ ที� เน้นการโต้้แย้้งทางวิท า าสตร์์ ี �้้้ิ์ เร่� อง “ภารกิจพิิทักษ์สิ� งแวดล้้อ ”่ �ิิั์ิ �้ ปัจจุบันมีปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เกิดขึ้� นทั� งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ปัญหานำ � �มันดิิบรั่วไหลลงสู่ทะเล ฝุ่่� นละออง PM 2.5 การแพร่่ระบา ของเชื� อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งหลายกรณี ยังหาข้อสรุปที่่ั เจนไม่ได้้และไม่น่าเชื่อถือ เนื่องมาจากความแตกต่างทางความคิ ของแต่ละบุคคลในสังคมเกี่ยวกับ ความถูกต้องขององค์ความรู้ แนวคิ กระบวนการ และเทคโนโลยี ปัญหาต่างๆ เหล่านี� ยังส่งผลกระทบต่อการดำำ �เนิน ชีวิตของผู้คนในสังคม หรือมีอันตรายต่อชีวิต และมีแนวโน้มจะเพิ่่มขึ� นเรื่อยๆ นอกจากนี� การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้� น ส่วนมากมีการออกแบบ และสร้างนวัตกรรมภายใต้เงื่อนไขและข้อจำ �กั ทำ �ให้เกิ การโต้แย้งถึงรูปแบบนวัตกรรม ที่ใช้ในการแก้ปัญหาจากคนหลากหลายสาขาอาชี เช่น นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร รวมทั� งผู้คนในสังคมก็มักจะแส ง ความคิ เห็นส่วนตนผ่านสื่อสังคมออนไลน์อยู่เสมอที่เต็มไปด้้วยอารมณ์ ความรู้้ึก และความก้าวร้าวโ ยปราศจาก เหตุผลและหลักฐานเชิงประจักษ์ และไม่ยอมรับความคิ เห็นที่แตกต่างจากของตนเอง ทำ �ให้เกิ ความแตกแยก ของผู้คนในสังคมที่อยู่ตรงข้ามกัน (ศศิเท , 2559) ดัังนั� น การติ อาวุธทางความคิ สร้างเสริมให้นักเรียนมีทักษะ ในการคิ และการโต้แย้งกันทางวิทยาศาสตร์ จึงมีความสำ �คัญอย่างยิ่งต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้การพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่่� งเป็นทักษะการสื่อสารรูปแบบหนึ่งที่่ำ �คัญ จึงจำ �เป็น สำ �หรับนักเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้สามารถแสดงความคิดเห็นที่อยู่บนพื้นฐานของเหตุผลและหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการพิสูจน์ ยืนยันความถูกต้องของข้อสรุปประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อีกทั้ง สามารถตัดสินใจเลือกข้างใดข้างหนึ่ง และโน้มน้าวให้อีกฝ่ายหนึ่งคล้อยตามด้วยความน่าเชื่อถือ ซึ่่� งการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ สามารถสื่อสารได้หลายรูปแบบ เช่น การนำ �เสนอด้วยวาจา การเขียน การโต้วาที ในระหว่างที่่ีการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะได้พัฒนาความสามารถในการตัดสินใจเลือกใช้เหตุผลและหลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนความคิดของตนเอง หรือคัดค้านความคิดของผู้้�อ น (เอกภูมิ, 2559; สหรัฐและศศิเทพ, 2562) ในการนำ �ไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน จำ �เป็นต้อง เข้าใจลักษณะสำ �คัญของทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่่� งตามกรอบแนวคิดของ Lin และ Mintzes (2010) แบ่งทักษะ การโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์เป็น 5 องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้ 1) ข้อกล่าวอ้าง (Claim) คือ ข้อคิดเห็นหรือจุดยืนที่ตนเองเลือกในประเด็นการโต้แย้งของเรื่องนั้น 2) เหตุผลสนับสนุน (Warrant) คือ ข้อมูลที่อธิบายเพื่อสนับสนุนข้อคิดเห็นหรือจุดยืนที่ตนเองเลือกไว้ เพื่อให้มี ความน่าเชื่อถือมากขึ้น 3) หลักฐาน (Evidence) คือ สิ่งที่ใช้ยืนยันเหตุผลให้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น สามารถพิสูจน์หรือตรวจสอบ ความถูกต้องได้ โดยหลักฐานมีหลายรูปแบบที่เป็นแหล่งข้อมูลที่่่าเชื่อถือ เช่น ข้อเท็จจริง ประสบการณ์ ผลการสังเกต ผลการทดลอง รูปภาพ นิตยสาร งานวิจัย 4) การให้ข้อโต้แย้งที่่่างออกไป (Counterargument) คือ การเสนอข้อคิดเห็นหรือจุดยืนที่ตรงข้ามกับสิ่งที่ตนเอง เสนอไว้ในประเด็นการโต้แย้งของเรื่องนั้น โดยระบุเหตุผลที่่่าเชื่อถือมาสนับสนุนได้ 5) การให้เหตุผลสนับสนุนการโต้แย้งกลับ (Supportive Argument) คือ การเสนอเหตุผลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มาสนับสนุนข้อคิดเห็นหรือจุดยืนที่ตนเองเสนอไว้ได้น่าเชื่อถือ หรือคัดค้านข้อคิดเห็นหรือจุดยืนอีกฝ่ายที่ตรงข้ามกับตนเอง ได้น่าเชื่อถือ ทำ �ให้ข้อข้อคิดเห็นหรือจุดยืนอีกฝ่ายมีความน่าเชื่อถือลดลงหรือตกไป และทำ �ให้อีกฝ่ายสามารถคล้อยตามและ เห็นด้วยกับข้อคิดเห็นหรือจุดยืนของตนเอง สหรัฐ ยกย่อง • ครูโรงเรียนสิริรัตนาธร จังหวัดกรุงเทพมหานคร รศ.ดร.ศศิเทพ ปิติพรเทพิน • อาจารย์ประจำ �ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.วชิร ศรีคุ้ม • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • email: wsrik@ipst.ac.th การเรียนกระตุ้้� น ความคิด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1